งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่ 1- 12.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่ 1- 12."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่ 1- 12

2 วัตถุประส งค์ 2. เพื่อพัฒนาหรือขยายเครือข่ายเจ้า พนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงาน ตามกฎหมายสาธารณสุข 3. เพื่อสนับสนุนให้เทศบาล 1) มีการออกเทศบัญญัติควบคุม กิจการภายในท้องถิ่น อย่างน้อย 2 เรื่อง 2) มีระบบการจัดการเหตุรำคาญ และกรณีมีเหตุรำคาญ สามารถแก้ไขได้เกิน ร้อยละ 60

3 พื้นที่เป้าหมายและงบประมาณ สนับสนุน ศูนย์ อนามัยที่ พัฒนาเครือข่าย พื้นที่เดิม ขยายเครือข่ายพื้นที่ ใหม่ งบประม าณ 1 ปทุมธานีนนทบุรี 120,000 2 - สระบุรี, ลพบุรี, สิงห์บุรี, ชัยนาท 100,000 3 สระแก้วจันทบุรี, ตราด 120,000 4 นครปฐม - 100,000 5 ชัยภูมิ - 100,000 6 หนองบัวลำภูขอนแก่น 120,000

4 ศูนย์ อนามัยที่ พัฒนาเครือข่าย พื้นที่เดิม ขยายเครือข่ายพื้นที่ ใหม่ งบประม าณ 7 ยโสธร - 100,000 8 นครสวรรค์ - 100,000 9 อุตรดิตถ์ตาก 120,000 10 ลำปาง - 100,000 11 -- 20,000 12 สงขลาตรัง 120,000 รวม 10 10 1,220,000 พื้นที่เป้าหมายและงบประมาณ สนับสนุน ( ต่อ )

5 ขั้นตอนการเตรียมการ กำหนดจังหวัดเป้าหมาย โดยศูนย์ อนามัยที่ 1-12 พิจารณาคัดเลือกจังหวัดที่มี ความพร้อมในการดำเนินงานด้านกฎหมาย สาธารณสุขของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงาน ทั้งในระดับจังหวัด และอปท. โดยดำเนินการ ใน 3 กรณีคือ 1. ขยายพื้นที่จังหวัดใหม่และพัฒนา เครือข่ายพื้นที่เดิม 2. ขยายพื้นที่ใหม่ในจังหวัดเดิมและ พัฒนาเครือข่าย พื้นที่เดิม 3. พัฒนาเครือข่ายในพื้นที่เดิมและ จังหวัดเดิม

6 ขั้นตอนและวิธีการ ดำเนินงาน ( ต่อ ) ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข จัดประชุมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านกฎหมายสาธารณสุข ( ศอที่ 1- 12) เพื่อ 1. ชี้แจงทำความเข้าใจถึง วัตถุประสงค์รูปแบบและขั้นตอน การดำเนินงานตามโครงการฯ 2. ร่วมกันพิจารณากำหนด แผนปฏิบัติงานการสร้างและ พัฒนาเครือข่ายเจ้าพนักงาน

7 การสร้างและพัฒนาเครือข่ายเจ้า พนักงานฯ 1. ผู้ข้าอบรมร่วมกันจัดทำแผนการสร้างและ พัฒนาเครือข่ายเจ้าพนักงานตามกฎหมาย สาธารณสุข 2. จัดกิจกรรมต่างๆ เช่น จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ การศึกษาดูงานฯลฯให้แก่เจ้า พนักงานตามกฎหมายฯที่ผ่านการอบรม โดยจัด 1-2 ครั้ง หลังจากจัดการอบรมเสร็จ สิ้นแล้ว 3. จัดทำทำเนียบเจ้าพนักงานตามกฎหมาย สาธารณสุข

8 โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่ 1- 12 การสนับสนุนติดตาม และการประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่าย เจ้าพนักงานฯ

9 ศกม. สนับสนุน.... วิทยากร / เอกสาร คู่มือ / ต้นแบบข้อบัญญัติ / งบประมาณ ฯลฯ การติดตามประเมินผล.... - ตั้งทีมสนับสนุนและติดตาม ประเมินผล - เครื่องมือการติดตาม ประเมินผล - จัดประชุมถอดบทเรียน ( ปลายเดือนก. ค ) ฯลฯ

10 วิทยากรสนับสนุน โครงการ วิทยากรหลัก - นายสมชาย ตู้แก้ว - นางพรพรรณ ไม้สุพร วิทยากรสนับสนุน 1) นางนัทฐ์หทัย ไตร ฐิ่น 2) นางวิไลวรรณ มาเจริญ ทรัพย์ 3) นางสาววิภา รุจิจนากุล 4) นายชาญชัย เกษจันทร์ 5) นางสาววราลักษณ์ ศร แดง 6) นายเกรียงศักดิ์ ทอง แก้ว 7) นายสุระศักดิ์ แก้ว เจริญ

11 ทีมสนับสนุน / ติดตาม ประเมินผล ทีมที่ 1 ผู้รับผิดชอบ 1. นางสาวสิริวรรณ จัน ทนจุลกะ 2. นางวิไลวรรณ มา เจริญทรัพย์ 3. ร้อยโทหญิงลัฐิกา จันทร์จิต 4. นางสาววราลักษณ์ ศร แดง พื้นที่ ศูนย์อนามัยที่ 3,7,11 2 1. นางพรพรรณ ไม้สุพร 2. นางมะลิลา ตันติยุทธ 3. นายเกรียงศักดิ์ ทอง แก้ว ศูนย์อนามัยที่ 4,5,10

12 ทีมติดตาม / สนับสนุน ( ต่อ ) ทีมที่ 3 ผู้รับผิดชอบ 1. นายสมชาย ตู้แก้ว 2. นางสาวเชื้อเพ็ญ บุพศิริ 3. นายชาญชัย เกษจันทร์ พื้นที่ ศูนย์อนามัยที่ 1,2,12 4 1. นางนัทฐ์หทัย ไตรฐิ่น 2. นางสาววิภา รุจิจนากุล 3. นางวาสนา ปะสังคา นนท์ 4. นายสุระศักดิ์ แก้วเจริญ ศูนย์อนามัยที่ 6,8,9

13 ศูนย์อนามัย ที่ 1-12 การประเมินผลผลิต... หลังการ อบรม - ประเมินองค์ความรู้ - ประเมินการนำความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และตามแผนที่ผู้เข้าอบรมส่งมา ให้ศูนย์ฯ - จัดทำสรุปผลการดำเนิน โครงการฯ สนับสนุน.... - ตามแผนที่ผู้เข้าอบรมส่งมาให้ศูนย์ฯ - เน้นสนับสนุนการมีเทศบัญญัติอย่างน้อย 2 เรื่อง / มีระบบการจัดการเหตุรำคาญ และกรณีมีเหตุ รำคาญสามารถแก้ไขได้เกิน ร้อยละ 60 - การสร้าง / พัฒนาเครือข่ายฯ เช่น จัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาดูงาน ฯลฯ

14 ระบบการจัดการเหตุ รำคาญ หมายความว่า............. 1. มีผู้รับผิดชอบ 2. มีการกำหนดวิธีการและขั้นตอนการ แก้ไขเหตุรำคาญดังนี้ 2.1 การรับเรื่อง 2.2 การตรวจสอบ 2.3 การจัดการ ( การไกล่เกลี่ย การให้ คำแนะนำ การออกคำสั่ง การเปรียบเทียบปรับ และ การดำเนินคดี ) 2.4 การบันทึกข้อมูล

15 กรณีมีเหตุรำคาญสามารถ แก้ไขได้ หมายความว่า......... 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการ เช่น ไกล่เกลี่ย ให้คำแนะนำ ออกคำสั่ง เปรียบเทียบปรับ แล้ว ผู้ก่อเหตุรำคาญยอมระงับเหตุรำคาญ หรือ 2. กรณีผู้ก่อเหตุรำคาญไม่ดำเนินการ ระงับเหตุรำคาญ ให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นดำเนินคดี ( โดยไม่ต้องรอ ผลการบังคับคดี )


ดาวน์โหลด ppt โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่ 1- 12.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google