ประเภทการเรียนการสอน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ผู้วิจัย : นายสุพัฒน์ กลัดสมบุญ
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.

วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเศรษฐศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะการท่องจำเบื้องต้นของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชางานฝึกฝีมือ เรื่องงานร่างแบบด้วยมือโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของ นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 แผนกช่างอุตสาหกรรม ปีการศึกษา.
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นางสาวดาราพร รังรักษ์
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
ชื่อเรื่องวิจัย: พัฒนาการของการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในงานอาชีพเรื่อง Present Simple.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้หนังสืออ่านนอกเวลา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 แผนกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 โดยใช้สถานการณ์จำลอง กิติพร โกมลารชุน.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การใช้แบบฝึกทักษะเกม Spelling Bee เพื่อพัฒนาความสามารถในการสะกด คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 (ปวช.1) สาขา เทคนิคคอมพิวเตอร์

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
วัตถุประสงค์การวิจัย
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเภทการเรียนการสอน   การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภทการเรียนการสอน

ผู้วิจัย / ตำแหน่ง สถานที่สังกัด ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาทักษะการเขียนเรียงความโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะที่ หลากหลาย ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก ผู้วิจัย / ตำแหน่ง นางสาวอุบลวรรณ บ่วงศิริ ตำแหน่ง ครูผู้สอน หมวดวิชาสามัญ สถานที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก

ปัญหาการวิจัย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์แสดงความเป็นชาติไทย คนไทยทุกคนควรภาคภูมิใจที่ เรามีภาษาเป็นของเราเองและควรฝึกฝนใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องเหมาะสม การเขียนเรียงความเป็นงานเขียนที่ผู้เขียนมีจุดประสงค์เพื่อที่จะถ่ายทอด ความรู้สึกนึกคิด ความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติของตนออกมาเป็นเรื่องราวให้ ผู้อื่นทราบและเข้าใจโดยใช้ถ้อยคำที่เรียบเรียงอย่างชัดเจน สละสลวยน่าอ่าน แต่ในสภาพปัจจุบันพบว่า นักเรียนชั้น ปวช. 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก เขียนเรียงความไม่เป็น ไม่มีความคิดสร้างสรรค์ เรียงความขาดความน่าสนใจ ไม่สามารถจูงใจให้ผู้อ่านเกิดความ ดังนั้น จึงควรปรับปรุงแก้ไขให้นักเรียนมี ทักษะการเขียนที่ดีขึ้น ผู้วิจัยเห็นสมควรให้มีการพัฒนาทักษะการเขียน เรียงความ เพราะการเขียนเรียงความจะเป็นการฝึกทักษะการเขียนที่ถูกต้องมี องค์ประกอบครบถ้วน เพื่อนักเรียนจะได้นำสำนวนการเขียนไปใช้ในงานเขียน อื่นๆ และนำไปใช้ในการประกอบอาชีพต่อไป

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการเขียนเรียงความ ของนักเรียนชั้น ปวช.1 เพื่อศึกษาผลการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการเขียน เรียงความที่หลากหลาย เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การพัฒนาการเขียน เรียงความก่อนเรียนและหลังเรียน

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ทดลองได้จากการสุ่ม อย่างง่าย (sample random sampling) โดยวิธีจับ ฉลากจากประชากรนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก ภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 9 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล - แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนเรียงความ - แบบประเมินก่อนการใช้แบบฝึกและหลังการใช้แบบฝึก (1) แบบทดสอบก่อนเรียน โดยกำหนดให้นักเรียนเขียน เรียงความเรื่อง ภาษาไทย คือหัวใจของชาติ (2) แบบทดสอบหลังเรียนโดยกำหนดให้นักเรียนเขียน เรียงความเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาชาติไทย ให้ยั่งยืน

สถิติในการวิจัย นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยทาง คณิตศาสตร์ แล้วนำค่ามาเปรียบเทียบระหว่างก่อน การใช้แบบฝึกและหลังการใช้แบบฝึก

สรุปผลการวิจัย จากผลการวิจัยการพัฒนาทักษะการเขียนเรียงความโดยใช้แบบฝึกที่หลากหลาย ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 สามารถอภิปรายผลได้ดังนี้ 1)ความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ แบบฝึกที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นได้หาคุณภาพจาก ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน โดยภาพรวมมีความคิดเห็นในระดับเหมาะสมมากที่สุด 2) ผลการพัฒนาแบบฝึกชุด“ฝึกเรียงร้อยถ้อยคำกับการเขียนเรียงความ” ปรากฏ ผล ว่ามีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้คิดเป็น 70/70 อันเนื่องมาจากแบบฝึกนี้สร้าง จากเนื้อหาง่ายไปหายากนักเรียนได้ฝึกอย่างมีขั้นตอน มีตัวอย่างที่หลากหลายทำให้ เกิดความเข้าใจ เป็นการเขียนจากความคิดของนักเรียนเอง 3) การเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนเรียงความจากการศึกษาเปรียบเทียบ ความสามารถในการเขียนเรียงความหลังการทดลอง ปรากฏว่าโดยคะแนนเฉลี่ย ความสามารถในการเขียนเรียงความของนักเรียนหลังจากที่ได้รับการสอนโดยใช้แบบ ฝึกการเขียนเรียงความมีคะแนนสูงขึ้น

จบการนำเสนอ