วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัย อาจารย์เรวดี นาวินวิจิต
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
วิจัยเรื่อง “ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็นโดยใช้เทคนิคร่วมกันคิด” โดย นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.

วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเศรษฐศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะการท่องจำเบื้องต้นของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชางานฝึกฝีมือ เรื่องงานร่างแบบด้วยมือโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของ นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 แผนกช่างอุตสาหกรรม ปีการศึกษา.
วิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางลัดดาวรรณ คงพูล อาจารย์ประจำสาขาวิชาสามัญและพื้นฐาน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาอังกฤษสำหรับสถานประกอบการสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ปัญหาการวิจัย พบว่า การเรียนรู้โดยใช้ตำรา ผู้เรียนไม่สนใจเนื่องจากผู้เรียน โดยส่วนใหญ่จะศึกษาค้นคว้าหา ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตเป็นส่วน ใหญ่ ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาบทเรียน.


การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในงานอาชีพเรื่อง Present Simple.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้หนังสืออ่านนอกเวลา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 แผนกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 โดยใช้สถานการณ์จำลอง กิติพร โกมลารชุน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การใช้แบบฝึกทักษะเกม Spelling Bee เพื่อพัฒนาความสามารถในการสะกด คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 (ปวช.1) สาขา เทคนิคคอมพิวเตอร์

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
โดย นางสาวพัชรินทร์ แสงเงิน วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
สมเกียรติ์ คุณหอม วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ Engineering and Business Administration Technological College ผลงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมเกมพลศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะการอันเดอร์ลูกวอลเลย์บอล ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 โดย นางสาวพิกุล วงษาศิลชัย

วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ Engineering and Business Administration Technological College วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาทักษะการอันเดอร์ลูกวอลเลย์บอลของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ของวิทยาลัยเทคโนโลยี วิศวกรรมบริหารธุรกิจ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลในการอันเดอร์ลูกวอลเลย์บอลของนักเรียนก่อนและหลังการฝึกทักษะการอันเดอร์ลูกวอลเลย์บอลควบคู่กับการฝึกใช้เกมกิจกรรมพลศึกษา

วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ Engineering and Business Administration Technological College กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรอิสระ การใช้เกมกิจกรรมพลศึกษา ตัวแปรตาม ทักษะการอันเดอร์ลูกวอลเลย์บอล

วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ Engineering and Business Administration Technological College ประชากรและกลุ่มเป้าหมาย ประชากรเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยี วิศวกรรมบริหารธุรกิจ จำนวน 160 คน ที่มีปัญหาด้านการอันเดอร์ลูกวอลเลย์บอล จำนวน 30 คนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การอันเดอร์ลูกวอลเลย์บอลต่อเนื่อง 30ลูก

วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ Engineering and Business Administration Technological College ลักษณะของเครื่องมือที่ใช้ 1. แบบประเมินทักษะการอันเดอร์ลูกวอลเลย์บอล 2. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้กิจกรรมการฝึกทักษะการอันเดอร์ลูกวอลเลย์บอลควบคู่กับการใช้เกมพลศึกษา

วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ Engineering and Business Administration Technological College สรุปผลการวิจัย คะแนนทักษะอันเดอร์ลูกวอลเลย์บอลก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 14.53 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.26 ส่วนคะแนนหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 17.77 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.10 นอกจากนี้นักเรียนมีคะแนนความก้าวหน้าเฉลี่ยเท่ากับ 3.43 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.34

วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ Engineering and Business Administration Technological College สรุปผลการวิจัย 1. ผลการเปรียบเทียบทักษะการอันเดอร์ลูกวอลเลย์บอลก่อนและหลังการฝึกทักษะควบคู่กับการใช้เกมพลศึกษา พบว่า คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  

วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ Engineering and Business Administration Technological College สรุปผลการวิจัย 2. ผลการเปรียบเทียบทักษะการอันเดอร์ลูกวอลเลย์บอลก่อนและหลังการฝึกทักษะควบคู่กับการใช้เกมพลศึกษา พบว่า คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  

วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ Engineering and Business Administration Technological College ข้อเสนอแนะการวิจัย จากการวิจัย พบว่า การใช้แบบฝึกทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนพลศึกษาสามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพลศึกษาของนักเรียนได้ดีกว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบปกติ ผู้วิจัยจึงมีข้อเสนอแนะดังนี้

การนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ Engineering and Business Administration Technological College การนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ 1. ควรศึกษาการสร้างแบบฝึกเพื่อพัฒนาระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความเข้าใจในทักษะการอันเดอร์ลูกวอลเลย์บอล 2. ควรใช้แนวทางการสอนแบบใช้เกมกิจกรรมพลศึกษานี้ในสาขาวิชาอื่นๆ เช่น วิชาพลศึกษา  

จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ Engineering and Business Administration Technological College จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ