นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย : นายสุพัฒน์ กลัดสมบุญ
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ในรายวิชา การบัญชีตั๋วเงินของ นักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 แผนกวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยี พณิชยการเชียงใหม่
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
วิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ชื่อเรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้ เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป วิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติ ของนักเรียน ปวช.1 โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ.
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
นายเจตวัฒน์ สมเจริญเกียรติ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 โดยใช้สถานการณ์จำลอง กิติพร โกมลารชุน.
ชื่อผู้วิจัย นางศศิธร บุญภูมิ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

LOGO การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนการ สอนในราย วิชาการบัญชีชั้นสูง 1 (3201 – 2004) เรื่องการบันทึกบัญชีที่ไม่สมบูรณ์ ของนักศึกษาระดับ ชั้น ปวส.2 สาขาการบัญชี
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้วยวิธี เพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัย นาง นุสรา ปิยะศาสตร์ ตำแหน่ง ครูผู้สอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา.
กิตติญา ยังเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
วัตถุประสงค์การวิจัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
นำเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ สำหรับนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีเกษมสันต์บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย : การพัฒนาทักษะการคิด คำนวณเรื่องการบวกและ การลบจำนวนเต็มของนักเรียน ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 โดยใช้การจัดกิจกรรมฝึกคิดเสริมทักษะ ชื่อผู้วิจัย : นายภิรักษ์ คำศรี

เช่น (–10) + 3 ต้องเท่ากับ –7 แต่นักเรียนมักตอบ –13 เป็นต้น ปัญหาการวิจัย สภาพปัญหา นักเรียนขาดความรู้ความชำนาญในเรื่องการบวกและการลบจำนวนเต็ม คือนักเรียนส่วนใหญ่มักสับสนเกี่ยวกับเครื่องหมายบวกหรือลบ เช่น (–10) + 3 ต้องเท่ากับ –7 แต่นักเรียนมักตอบ –13 เป็นต้น กล่าวคือปัญหาที่เกิดขึ้นนี้เกี่ยวข้องกับทักษะการคิดคำนวณของนักเรียนเป็นส่วนใหญ่ซึ่งจำเป็นต้องเร่งดำเนินการแก้ไขเนื่องจากเนื้อหาสาระนี้เป็นพื้นฐานความรู้ในเนื้อหาต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อพัฒนาทักษะการคิดคำนวณเรื่องการบวกและการลบจำนวนเต็มของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 โดยใช้การจัดกิจกรรมฝึกคิดเสริมทักษะ 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ที่มีต่อกิจกรรมฝึกคิดเสริมทักษะ

วัตถุประสงค์การวิจัย / กรอบแนวคิด กรอบความคิดในการวิจัย ทักษะการคิดคำนวณ การจัดกิจกรรม ฝึกคิดเสริมทักษะ ความพึงพอใจของ นักเรียน

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ห้อง 1/16, 1/17, 1/19, 1/21 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี นักเรียนชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี จำนวน 23 คน

ผลวิเคราะห์ข้อมูล ก่อนเรียน หลังเรียน 5.22 3.15 14.91 4.08 27.51** ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบก่อนและเรียนโดยใช้กิจกรรมฝึกคิดเสริมทักษะ ก่อนเรียน หลังเรียน t ค่าเฉลี่ย S.D. 5.22 3.15 14.91 4.08 27.51**

ผลวิเคราะห์ข้อมูล ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมฝึกคิดเสริมทักษะ ข้อที่ / รายการ ค่าเฉลี่ย S.D. อันดับที่ 7. การเสริมแรงทางบวก เช่น ชมเชย ให้กำลังใจ 4.91 .29 1 9. การอธิบาย / ให้คำแนะนำเพิ่มเติมของครู 1. การจัดการแข่งขันการคิดคำนวณเป็นกลุ่ม 4.87 .34 3 10. เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมฝึกคิดเสริมทักษะ 4.78 .52 4 8. การแทรกกิจกรรมนันทนาการ เช่น เต้นหรือทำท่าประกอบเพลง 4.65 .65 5 3. การกำหนดโจทย์ปัญหาการบวกลบโดยครู 4.61 .50 6 6. ความหลากหลายของโจทย์ปัญหาที่ครูและนักเรียนกำหนด .58 4. การเปิดโอกาสให้นักเรียนได้กำหนดโจทย์ปัญหาและเฉลยคำตอบ 4.57 .59 8 2. การจัดการแข่งขันการคิดคำนวณเป็นรายบุคคล 4.22 9 5. ความเหมาะสมของโจทย์ปัญหาที่นักเรียนกำหนด 4.04 .82 10 เฉลี่ยรวม 4.62 .51  

สรุปผลการวิจัย 1. นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 มีพัฒนาการทาง ทักษะการคิดคำนวณเรื่องการบวกและการลบจำนวนเต็มสูงขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 หลังจากเรียนรู้โดยใช้ กิจกรรมฝึกคิดเสริมทักษะที่ผู้วิจัยคิดค้นขึ้น 2. นักเรียนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมฝึกคิดเสริม ทักษะโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด

ข้อเสนอแนะ 1. ควรนำกิจกรรมฝึกคิดเสริมทักษะไปประยุกต์ใช้กับวิชาอื่นๆ หรือ ห้องเรียนอื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาให้กับนักเรียนที่ขาดทักษะการคิดด้านต่างๆต่อไป 2. ควรมีการศึกษาวิจัยว่าการเสริมแรงทางบวกมีผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหรือไม่ อย่างไร เพื่อจะได้นำผลมาพัฒนากระบวนการ เรียนรู้และประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสม ยิ่งขึ้น อันจะเป็นผลให้กระบวนการเรียนรู้มีประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพต่อไป

ขอบคุณครับ