ความหมายของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวางแผนกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
Advertisements

ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
การจัดการผลิตอย่างเป็นระบบ
รหัส หลักการตลาด.
บทที่ 2 แนวคิดและความสำคัญของงานการขาย
ตัวอย่าง SWOT Analysis
Product and Price ครั้งที่ 8.
Product and Price ครั้งที่ 12.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
Lesson 4 Product.
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
Lesson 7 Promotion Mix.
หลักการตลาด บทที่ 13 การส่งเสริมการตลาด.
ตรายี่ห้อ บรรจุภัณฑ์ และฉลาก
MK201 Principles of Marketing
หลักการตลาด บทที่ 17 การตลาดทางตรง.
หลักการตลาด บทที่ 15 การส่งเสริมการขาย.
การวางแผนกลยุทธ์.
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
วิชาชีพและจริยธรรมทางการตลาด
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
President Bakery PLC. Opportunity Day 3 March 2006
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
เรื่อง นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา เสนอ อาจารย์รุงอรุณ อ่อนสุข จัดทำโดย
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ยินดีต้อนรับ. ยินดีต้อนรับ หัวข้อที่นำเสนอ วินสโตร์คือใคร? หลักการรวมศูนย์ ระบบให้บริการ กลุ่มเป้าหมาย.
การกำหนดกลยุทธ์การตลาด
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
การออกแบบช่องทางการตลาด (Marketing Channels Design)
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
ขับเคลื่อนนวัตกรรม ด้วยการเข้าใจตลาดและผู้ใช้
ผู้จัดการฝ่ายขายมืออาชีพ (Professional Sales Manager)
Computer Application in Customer Relationship Management
Business Level Strategy กลยุทธ์ระดับธุรกิจ
เอกสารเรียนการบริหารการผลิตวันที่ 18 พ.ย.54
บทที่ 4 การวางแผนการตลาดและแผนการขาย
สื่อโฆษณาเพื่อส่งเสริมการขาย
1 บทที่ 3 ออกแบบเพื่อผู้ใช้ Designing for Users. 2 กำหนดเป้าหมายของเว็บ วางตำแหน่งบริษัทของคุณให้เป็นผู้เชี่ยวชาญใน สาขานั้น ให้บริการข้อมูลของสินค้าหรือบริการอย่างสมบูรณ์
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
ลักษณะและขอบเขตของการตลาด
ส่งเสริมการขาย เกมกลยุทธ์
โครงสร้างช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่ 10 การตลาดทางตรง ความหมายของการตลาดทางตรง Direct marketing is the use of consumer-direct channels to reach and delivery goods and services to customers.
บทที่ 4 การค้าส่ง.
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
การวัดการวิจัยในการตลาด
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
บทที่ 4 ส่วนประสมการตลาด
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
การจัดการส่วนประสมการตลาดในช่องทางการตลาด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
บทที่ 7 การส่งเสริมการขาย
บทที่ 5 ข้อเสนอ การสร้างสรรค์ จังหวะเวลา และบริการที่มอบให้กับลูกค้า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหมายของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ บทที่ 4 วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ ความหมายของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ (product life cycle) หมายถึง รูปแบบหรือ แนวโน้มของยอดขายและกำไรจากความต้องการหรือความนิยมใน การซื้อผลิตภัณฑ์ใดผลิตภัณฑ์หนึ่งของลูกค้าเมื่อช่วงเวลาที่ เปลี่ยนแปลงไป วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ประกอบด้วย 4 ขั้น ได้แก่ ขั้น แนะนำ (introduction) ขั้นเจริญเติบโต (growth) ขั้นเจริญเติบโต เต็มที่หรือขั้นอิ่มตัว (maturity) และขั้นตกต่ำ (decline)

การศึกษาเรื่องวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ต้องคำนึงถึง แนวความคิดเกี่ยวกับวงจรของดีมานด์ (demand life cycle curve) วงจรของเทคโนโลยี (technology life cycle) และวงจร ชีวิตตราสินค้า (brand life cycle) หรือวงจรชีวิตรูปแบบ ผลิตภัณฑ์ (product-form life cycle)

ปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ 1. เทคโนโลยี 2. การแผ่ขยายนวัตกรรม 3. ความชอบของผู้บริโภค 4. การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อม 5. การทดลองซื้อและการซื้อซ้ำ

กลยุทธ์การตลาดสำหรับวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ การจัดการกลยุทธ์การตลาดควรให้สอดคล้องกับ วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์แต่ละขั้นดังนี้ 1. ขั้นแนะนำ เป็นช่วงที่ผลิตภัณฑ์ถูกนำออกวางตลาดใน ช่วงแรก ยอดขายเพิ่มอย่างช้า ๆ ค่าใช้จ่ายสูงจึงทำให้กำไรต่ำ หรือขาดทุน

กลยุทธ์การตลาดสำหรับวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์การตลาดที่ใช้ในขั้นแนะนำ ได้แก่ แสวงหา กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มผู้บุกเบิกสินค้า - ด้านผลิตภัณฑ์ เน้นรูปแบบมาตรฐานที่กระตุ้น ความต้องการพื้นฐานมากกว่าการกระตุ้นความต้องการ เลือกสรรในตราสินค้า - ด้านราคา กำหนดราคาสูงสำหรับผลิตภัณฑ์ที่เป็น นวัตกรรม

กลยุทธ์การตลาดสำหรับวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์การตลาดที่ใช้ในขั้นแนะนำ - ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ใช้นโยบายการจัดจำหน่าย แบบเลือกสรร (selective distribution) และกำหนดโครงสร้างช่อง ทางการจัดจำหน่ายค่อนข้างสั้น - ด้านการส่งเสริมการตลาด จูงใจให้ทดลองใช้ด้วย การแจกตัวอย่าง แนะนำให้รู้จักด้วยการโฆษณา และส่งเสริม การขายสู่คนกลางเพื่อการรับผลิตภัณฑ์ไปจำหน่าย

กลยุทธ์การตลาดสำหรับวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ 2. ขั้นเจริญเติบโต เป็นขั้นที่ยอดขายเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็วคู่แข่งขันเริ่มเข้าสู่ตลาด ยอดขายเพิ่มขึ้นในสัดส่วนที่ มากกว่าค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น กลยุทธ์การตลาดที่ใช้ ได้แก่ การมุ่งสู่ส่วนตลาดใหม่ - ด้านผลิตภัณฑ์ ทำการปรับปรุงคุณภาพ ลักษณะ และรูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เพื่อให้เข้าถึงตลาดที่มีลักษณะ เฉพาะมากขึ้น

กลยุทธ์การตลาดสำหรับวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์การตลาดที่ใช้ขั้นเจริญเติบโต - ด้านราคา กำหนดราคาแบบคงที่ หรือลดลงเพื่อกีดกันคู่แข่ง - ช่องทางการจัดจำหน่าย ใช้นโยบายการจัดจำหน่ายอย่างทั่วถึง การเข้าถึงช่องทางการจัดจำหน่ายใหม่ และกระจายสินค้าอย่างมี ประสิทธิภาพ - การส่งเสริมการตลาด ใช้การโฆษณาแบบเน้นความภักดีใน ตราสินค้าสำหรับลูกค้าเก่า และการโฆษณาเพื่อการเข้าสู่ตลาดส่วนใหม่

กลยุทธ์การตลาดสำหรับวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ 3. ขั้นการเจริญเติบโตเต็มที่หรืออิ่มตัว เป็นขั้นที่อัตราการ เพิ่มขึ้นของยอดขาย คู่เข่งเพิ่มมากขึ้น กลยุทธ์การตลาดที่ใช้ ได้แก่ การปรับปรุงตลาดด้วยการ เปลี่ยนตัวผู้ไม่เคยใช้ การเข้าสู่ส่วนตลาดใหม่ และเพิ่มอัตราการใช้ - ด้านผลิตภัณฑ์ ปรับปรุงด้านคุณภาพ และรูปลักษณ์ของ ผลิตภัณฑ์ - ด้านราคา ปรับปรุงราคา โดยการตั้งราคาให้แตกต่าง และ/ หรือลดราคา

กลยุทธ์การตลาดสำหรับวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์การตลาดที่ใช้ในขั้นเจริญเติบโตเต็มที่หรืออิ่มตัว - ช่องทางการจัดจำหน่าย ใช้นโยบายการจัดจำหน่ายอย่าง ทั่วถึงเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายใหม่ และรักษาช่องทาง การจัดจำหน่ายเดิมที่มีประสิทธิภาพ - ด้านการส่งเสริมการตลาด โฆษณาโดยเน้นความแตกต่าง ในตราสินค้าและผลประโยชน์ ส่งเสริมการขายสู่คนกลาง พนักงานขาย และลูกค้า

กลยุทธ์การตลาดสำหรับวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ 4. ขั้นถดถอย เป็นขั้นที่ยอดขายและกำไรของสินค้าลดลง กลยุทธ์การตลาดที่ใช้ ได้แก่ รักษาลูกค้าที่มีความภักดี - ด้านผลิตภัณฑ์ ลดการผลิตสินค้ายอดขายต่ำ ตัดรายการ ผลิตภัณฑ์ไม่มีกำไรออกจากตลาด เปลี่ยนตำแหน่งผลิตภัณฑ์ใหม่ - ด้านราคา ลดราคาเพื่อรักษายอดขาย หรือปรับราคาสูงขึ้น กับตลาดกลุ่มย่อยที่ยังคงมีความภักดี

กลยุทธ์การตลาดสำหรับวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์การตลาดที่ใช้ในขั้นถดถอย - ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ตัดช่องทางการจัด จำหน่ายที่ไม่มีประสิทธิภาพออก เพื่อลดค่าใช้จ่าย - ด้านการส่งเสริมการตลาด ลดการโฆษณา ให้ส่วนลด สำหรับผลิตภัณฑ์รวมห่อหรือขายควบ แต่โดยภาพรวมส่งเสริม การขายระดับต่ำ