ชื่อผู้วิจัย ว่าที่ร้อยตรีหญิง ภรณ์ทิพย์ เทพธีระชัย สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
Advertisements

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาเครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้น ปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการ สอน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นางสาวทัศนา จันทะเรือง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู

ผู้วิจัย : นายสิทธิชัย โกเสนตอ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
สาขาวิชาการท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการเชียงใหม่
 ผู้วิจัย นายชัช อุ่น บุญธรรม  สังกัด วิทยาลัย เทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
นางวันเพ็ญ วิวัฒนเจริญ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
การแก้ปัญหาการขาดเรียน ในรายวิชาโครงการ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผู้วิจัย นายวราวุฒิ สาริกบุตร วิทยาลัย เทคโนโลยี ศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
อาจารย์นริสรา คลองขุด
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
ผู้วิจัย ลัดดา เสาร์เป็ง
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อผู้วิจัย ว่าที่ร้อยตรีหญิง ภรณ์ทิพย์ เทพธีระชัย สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่

ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ โดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบ เค ดับเบิลยู แอล พลัส ของผู้เรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 2/1 วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่ ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ โดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบ เค ดับเบิลยู แอล พลัส ของผู้เรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 2/1 วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย จากที่ผู้วิจัยได้พบปัญหาว่านักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2/1 ยังขาดทักษะ การคิดวิเคราะห์ มีสาเหตุมาจากผู้เรียนไม่ได้ เรียนตามขั้นตอนกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ ดังนั้นผู้วิจัยในฐานะเป็นครูผู้สอนจึงได้นำ วิธีการเรียนรู้แบบ KWL PLUS มาใช้ในการจัดการ เรียนการสอน เพื่อพัฒนากระบวนการคิดอย่าง เป็นระบบของผู้เรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพปีที่ 2/1 ซึ่งการจัดการเรียนการสอนโดย วิธีการเรียนรู้ แบบ KWL PLUS จะช่วยพัฒนา กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบของนักเรียนให้ สูงขึ้นได้

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็น ระบบของผู้เรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพปีที่ 2/1 วิทยาลัยเทคโนโลยี ศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่ จำนวน 14 คน

ตารางที่ 1 แสดงผลการเรียนรู้จาก KWL CHART โดยใช้สถิติทดสอบการหาค่าเฉลี่ยและค่าร้อยละ เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ ในรายวิชา วิทยาศาสตร์ประยุกต์ จากตารางที่ 1 ผลการเรียนรู้จาก KWL CHART โดย ใช้สถิติทดสอบการหาค่าเฉลี่ยและค่าร้อยละเรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ ในรายวิชา วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ของผู้เรียนจำนวน 14 คน จะพบว่านักเรียนได้คะแนนจากการประเมินผลจาก การทำ KWL CHART ได้คะแนนเฉลี่ย 6.42 หรือร้อยละ ของคะแนนเต็ม นักเรียนได้คะแนนสูงสุด 9 คะแนน ต่ำสุด 5 คะแนน ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการ ให้นักเรียนมีกระบวนการคิดที่ดีขึ้น จำนวน นักเรียน ( คน ) คะแนน เต็ม ( คะแนน ) คะแนนที่ ได้ ( คะแนน ) ร้อยละ ของ คะแนนที่ ได้

ตารางที่ 2 ตารางแสดงผลจากการสังเกต พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม โดย ใช้สถิติทดสอบการหาค่าเฉลี่ยและค่าร้อยละ เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ ในรายวิชา วิทยาศาสตร์ประยุกต์ จากตารางที่ 2 แสดงผลจากการสังเกต พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม โดย ใช้สถิติ ทดสอบการหาค่าเฉลี่ยและค่าร้อยละ เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ ในรายวิชา วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ของผู้เรียนจำนวน 14 คน ได้ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.85 หรือร้อยละ ซึ่ง นักเรียนได้คะแนนสูงสุด 10 คะแนน ต่ำสุด 7 คะแนน จำนวน นักเรียน ( คน ) คะแนน เต็ม ( คะแนน ) คะแนนที่ ได้ ( คะแนน ) ร้อยละ ของ คะแนนที่ ได้

ตารางที่ 3 ตารางแสดงผลจากการนำเสนอ ผลงานหน้าชั้นเรียน โดยใช้สถิติทดสอบการหา ค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละ จากตารางที่ 3 แสดงผลจากการนำเสนอ ผลงานหน้าชั้นเรียน โดยใช้สถิติทดสอบการหา ค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละ เรื่อง ความหลากหลาย ทางชีวภาพ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ของผู้เรียนจำนวน 14 คน ได้ค่าเฉลี่ยเท่ากับ หรือร้อยละ ซึ่งนักเรียนได้คะแนน สูงสุด 14 คะแนน ต่ำสุด 11 คะแนน จำนวน นักเรียน ( คน ) คะแนน เต็ม ( คะแนน ) คะแนนที่ ได้ ( คะแนน ) ร้อยละ ของ คะแนนที่ ได้

สรุปผลการวิจัย ผลการเรียนรู้จาก KWL CHART พบว่านักเรียนได้ คะแนนจาก การประเมินผล จากการทำ KWL CHART ได้คะแนนเฉลี่ย 6.42 หรือร้อยละ ของ คะแนนเต็ม อาจเนื่องมาจากการที่ผู้เรียนได้มี โอกาสได้เขียนความรู้เดิม สิ่งที่อยากเรียนรู้ เพิ่มเติม แล้วนำมาสรุปว่าจากที่เรียนไปแล้ว นักเรียนได้ความรู้อะไรบ้างที่เพิ่มเติมมาจาก ความรู้เดิมของนักเรียนเอง ซึ่งการเรียนรู้โดย การเขียนลงใน KWL CHART ช่วยในการสรุปความ เข้าใจของตนเองและมีกระบวนคิดอย่างเป็น ขั้นตอน

ตัวอย่าง KWL CHART