หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้. 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชมรมครูคณิตศาสตร์อาชีวศึกษา วันที่ 2-5 เมษายน 2557
Advertisements

ชมรมครูคณิตศาสตร์อาชีวศึกษา วันที่ 2-5 เมษายน 2557
การวิจัย RESEARCH.
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ADDIE model หลักการออกแบบของ
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
การสร้างสื่อมัลติมีเดีย
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์
- ส่วนใหญ่มีคอมพิวเตอร์ที่บ้าน สามารถต่ออินเตอร์เน็ตได้
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับ ปวส
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การออกแบบการสอน รูปแบบ ADDIE Model
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ADDIE Model.
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีห้างหุ้นส่วนโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การสร้างสื่อ e-Learning
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
“การศึกษาประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (E-learning) วิชาหลักการตลาด ของนักศึกษาคู่ขนาน.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
นางสาวถนอมนวล ฐาปนพงษ์ไพบูลย์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
หลักการออกแบบของ ADDIE model
ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประกอบ ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประกอบการเรียนทางไกลแบบสองทางพร้อมสื่อประสมผ่านดาวเทียม เรื่อง Computer.
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การตรวจสอบวัสดุด้วยเครื่องอุลตร้าโซนิค

หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้. 1 หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นการวิเคราะห์  Analysis 2. ขั้นการออกแบบ Design 3. ขั้นการพัฒนา Development 4. ขั้นการนำไปใช้  Implementation 5. ขั้นการประเมินผล   Evaluation

1. ขั้นการวิเคราะห์ Analysis 1. หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การตรวจสอบวัสดุด้วยเครื่องอุลตร้าโซนิก ตาม เกณฑ์ที่กำหนด โดยใช้สูตร E1/E2 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มทดลอง ที่ 1 และกลุ่มควบคุม โดยใช้สูตร Pool variances Independent Samples t-test

2. ขั้นการออกแบบ Design 1.เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่อง การตรวจสอบวัสดุด้วยเครื่องอุลตร้าโซ นิก 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการ ตรวจสอบวัสดุ ด้วยเครื่องอุลตร้าโซนิกระหว่างการ สอนปกติกับการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน

3. ขั้นการพัฒนา Development บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง โปรแกรมบทเรียนวิชาการทดสอบ วัสดุวิศวกรรม 1 เรื่อง การตรวจสอบวัสดุด้วยเครื่องอุลตร้าโซนิก ที่ใช้กับเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์เขียนโดยใช้โปรแกรมการประพันธ์ (Authoring Language) งานวิจัยนี้จะใช้โปรแกรม Authorware Version 6 โดยจัดทำเป็น CD-Rom ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถของนักศึกษาในการเรียนรู้ ซึ่งวัดได้ จากคะแนนแบบทดสอบจากการเรียนเรื่องการตรวจสอบวัสดุด้วยเครื่องอุลตร้า โซนิกการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง การสอนที่ให้ นักศึกษาศึกษาเนื้อหาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

การตรวจสอบวัสดุด้วยเครื่องอุลตร้าโซนิก หมายถึง การตรวจสอบแบบไม่ทำลายเพื่อหาตำหนิหรือข้อบกพร่องของชิ้นงานโดยไม่ทำให้ชิ้นงานที่ตรวจสอบนั้นเปลี่ยนรูปร่างไปจากเดิมประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง ร้อยละผลเฉลี่ยของคะแนนการทำงานและการประกอบกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทั้งหมดต่อร้อยละของผลการสอบหลังเรียนของผู้เรียนทั้งหมด ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแทนด้วย E1/E2 เมื่อ E1 หมายถึง คะแนนการทำกิจกรรมหรือการตอบคำถามระหว่างการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน E2 หมายถึง คะแนนการสอบหลังจากศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในการวิจัยครั้งนี้กำหนดให้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีประสิทธิภาพเป็น 80/80 การสอนตามแผนการสอน หมายถึง การสอนในชั้นเรียนปกติโดยที่นักศึกษาไม่ได้ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

4. ขั้นการนำไปใช้ Implementation 1. การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การทดลองภาคสนามเบื้องต้นกับนักศึกษา จำนวน 3 คน และการทดลองขั้นทดสอบกลุ่มย่อยกับ นัก ศึกษา จำนวน 6 คน เป็นการนำผลมาวิเคราะห์ เพื่อปรับปรุงแก้ไขบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนให้ดีขึ้น การทดลองวิจัยขั้นทดสอบเชิงปฏิบัติการ กับกลุ่มทดลองที่ 2 เป็นการทดลองวิจัยเพื่อหาค่าประ สิทธิ ภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของกลุ่มทดลองที่ 1 กับกลุ่มควบคุมนำคะแนนที่ได้ จากการทำแบบทดสอบหลังเรียนของกลุ่มทดลองที่ 1 และกลุ่มควบคุมมาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ หาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้สูตร Pool variances Independent Samples t-test

5. ขั้นการประเมินผล Evaluation 1. ผู้ทำการวิจัยควรศึกษารูปแบบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วัตถุประสงค์ การ นำเสนอ และ วิธีการจูงใจ รวมทั้งมีความรู้ทางด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เพื่อที่จะสามารถสร้างบทเรียนให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร 2. การเลือกใช้สื่อประเภทบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ควรคำนึงถึงความพร้อมของ สถานศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้สื่ออย่างคุ้มค่า ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการทดสอบวัสดุวิศวกรรม 1 ในเรื่องอื่น ๆ อีก 2. ควรมีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สามารถนำไปใช้ในระบบ อินเตอร์เน็ตได้ ปี 2545

หลักการออกแบบของ ADDIE model ขั้นการวิเคราะห์ Analysis หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หลักการออกแบบของ ADDIE model เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มทดลอง ขั้นการออกแบบ Design ขั้นการพัฒนา Development นักศึกษา ขั้นการประเมินผล   Evaluation ขั้นการนำไปใช้  Implementation นักศึกษา ผู้ทำการวิจัยควรศึกษารูปแบบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความพร้อมของสถานศึกษา

ผู้จัดทำ นางสาวนงเยาว์ บัวเจริญ รหัสนักศึกษา 541121051 โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์