งานคุณภาพ ของแผนกทารกแรกเกิด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Risk Management JVKK.
Visual Control งานโภชนาการ รพ.สงขลานครินทร์.
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
พยาบาลเปรมจิตร คล้ายเพ็ชร์ งานการพยาบาลศัลยศาสตร์ฯ
การหาความเที่ยงของการจำแนกประเภท ผู้ป่วยด้วยระบบ IRR Testing
Patient Safety Walk Rounds :
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในทัณฑสถานหญิงจังหวัดเชียงใหม่
Trigger marker + Medical record safety review ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี
PDCA คืออะไร P D C A.
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
การพัฒนาแนวปฏิบัติเรื่อง การให้เลือดผิดกรุ๊ป และ identify ผู้ป่วยผิดคน
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ไข้หวัดใหญ่ 2009 โรงพยาบาลเชียงรายประชานุ เคราะห์.
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
เข็มมุ่ง บุคลากรทุกคนทุกระดับในกลุ่มการพยาบาลใช้หลัก Standard precautions (การปฏิบัติขั้นพื้นฐานเพื่อป้องกันการติดเชื้อ)ในการปฏิบัติงาน ผู้ป่วยที่สามารถแพร่กระจายเชื้อหรือมีความไวต่อการรับเชื้อได้รับการดูแลตามหลัก.
วันที่ 5 มิถุนายน 2549 ชื่อเรื่อง : การพัฒนากระบวนการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ณ จุดประชาสัมพันธ์ แหล่งข้อมูล : ชื่อผู้เล่า นางสุรดา ภูมิปัญญา ตำแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการ.
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
เทคนิคการจัดการ ความคลาดเคลื่อนทางยาในเครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
ขอบเขตความรับผิดชอบของพยาบาลในการบริหารยา
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
ข้อสั่งการ ของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การเตรียมความพร้อมรองรับ สถานการณ์น้ำท่วม 1. การป้องกันสถานที่ / ตรวจตรา / ซ่อมสร้าง ความเข้มแข็งของแนวป้องกัน.
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. แนวทางการรับคำสั่งการใช้ รถ การประกันระยะเวลาการ รับส่งผู้ป่วย 4. ความรู้ความสามารถของ พขร. ในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย กฎจราจร.
ประเภทผลงาน ประเภทนวัตกรรม ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนาชุดอุปกรณ์พร้อมใช้
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
แบบประเมินความเสี่ยงและการควบคุม
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การประเมิน / จำแนกผู้ป่วย เพื่อรับการรักษา 2. การทำงานร่วมกับสหวิชาชีพ 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีความ เสี่ยงสูง เช่นผู้ป่วยหลอดเลือด สมอง ผู้ป่วยที่ไม่สามารถ.
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานคุณภาพ ของแผนกทารกแรกเกิด

น.ท.หญิง สุภาพร ศิริบรรจง น.ต.หญิง แพรวขวัญ พัฒนะธราพงศ์ ร.อ.หญิง นงลักษณ์ ใจอินทร์ และเจ้าหน้าที่แผนกทารกแรกเกิด

แผนกทารกแรกเกิด กองกุมารเวชกรรม มีภารกิจในการดูแลผู้ป่วยแรกเกิดที่คลอดในโรงพยาบาลและมีภาวะเจ็บป่วย ซึ่งส่วนใหญ่มีความจำเป็นต้องได้รับยาในการรักษาและการให้ยาผู้ป่วยเด็กจะเป็นลักษณะของ small dose ทำให้มีโอกาสเกิดความผิดพลาดในการให้ยาได้ ดังนั้น การบริหารยาอย่างถูกต้องจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง จากสถิติรายงานอุบัติการณ์อันดับ 1 ของแผนกคือ Medical Error ทางแผนกทารกแรกเกิดจึงได้เห็นความสำคัญของปัญหา และนำมาพัฒนาในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องในแผนกของเรา

เพื่อป้องกันความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาให้แก่ผู้ป่วย

1. จัดทำแนวทางปฏิบัติในการให้ยาแก่ผู้ป่วย 1.1 การเตรียมยา Inchart ตรวจเช็คยากับคำสั่งการรักษาของแพทย์ Mednurse เป็นผู้ให้ยาฉีดกับผู้ป่วย เตรียมยาตามหลัก 5 R 1.2 Mednurse เป็นผู้คำนวณปริมาณและขนาดยาตามคำสั่งการรักษา 1.3 Inchart ตรวจสอบความถูกต้องก่อนให้ยากับผู้ป่วย 1.4 ก่อนลงเวรให้ Inchart แต่ละทีมผลัดกันตรวจสอบอีกครั้ง

ผลการดำเนินงานตั้งแต่ปีพ.ศ.2548 - 2550 ปีพ.ศ. 2548 พบความคลาดเคลื่อนทางยา 3 ครั้ง ปีพ.ศ. 2549 พบความคลาดเคลื่อนทางยา 2 ครั้ง ปีพ.ศ. 2550 พบความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดขนาด 4 ครั้ง ปีพ.ศ. 2550 พบความคลาดเคลื่อนในการรับคำสั่งยาผิด 1 ครั้ง

การ CQI ครั้งที่ 2 จึงได้มีการปรับปรุงและแก้ไขการะบวนการใหม่ โดย 1.จัดทำตารางเพื่อเพิ่มจุดในการ Double check 1.1 จัดทำใบ Recheck ยาขึ้นใหม่โดยมีการ Recheck 3 ขั้นตอน [ Triple check ] ดังนี้

วดป. เวร Recheck 1 Recheck 2 Recheck 3 เช้า บ่าย ดึก ผู้ทำ ( In ) ( Med ) ผู้ทำ (Med ) เช้า บ่าย ดึก

Recheck 1 - Inchart รับ treatment ลงในใบ round ยาฉีด - Mednurse เป็นผู้เช็คแล้วเซ็นชื่อกำกับ

Recheck 2 - Mednurse เป็นผู้ให้ยาฉีดโดยปฏิบัติตามหลัก 5 R - Inchart เป็นผู้เช็คแล้วเซ็นชื่อกำกับ

Mednurse ให้ยาตามหลัก 5 R 1.Right Dose

2.Right Drug

3. Right Patient 4. Right Time

Identification Patient ก่อนให้ยา

5.Right Method

Recheck 3 - Mednurse เป็นผู้ลงรายละเอียดในการให้ยาในแบบ ง. และในใบ Round treatment โดยลง dose ยา วิธีการผสมและปริมาณยา - Inchart เป็นผู้เช็คแล้วเซ็นต์ชื่อกำกับ

Mednurse ลงบันทึกในการให้ยา Inchart ตรวจสอบแล้วเซ็นต์ชื่อกำกับ

ปีพ.ศ. 2551 พบความคลาดเคลื่อนในการรับคำสั่งการให้ยาผิด 1 ครั้ง

ทบทวนแนวทางปฏิบัติการ double check และการให้ยากับเจ้าหน้าที่ บันทึกข้อมูลการให้ยาผิดพลาดทุกเดือนเพื่อเฝ้าระวัง ขยายผลให้หน่วยงานที่มีลักษณะคล้ายกันนำไปใช้ในการดูแลผู้ป่วย

ตอบข้อซักถาม

จบการบรรยายสรุป