งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก
CQI เรื่อง โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก

2 สภาพปัญหา ปี 2552 คิดเป็น 0.43% จำนวน 1 ราย
ปี คิดเป็น 0.43% จำนวน 1 ราย ปี คิดเป็น 2.14% จำนวน 6 ราย ปี คิดเป็น 2.89%(ต.ค พ.ค.2554) จำนวน 4 ราย จากสถานะการณ์ที่ผ่านมามีปัญหาเรื่องแผลแยกเราปรับปรุงขบวนการปฏิบัติ ในการทำกับผู้คลอดโดยได้มีการแยก setคลอด กับset sutureแยกจากกัน มีการ Flush ทำความสะอาดและเปลี่ยนผ้ายางรองด้วยทุกครั้งแต่ยังพบปัญหามีแผลแยกอยู่ ปีงบประมาณ 2554 (ต.ค )คิดเป็น2.89%(4 ราย)ยังเป็นอัตราส่วนค่อนข้างมากเป้าหมาย ลดอัตราแผลฝีเย็บแยก ไม่เกิน 1%

3 สาเหตุของการเกิด 1. การใช้หลัก Aseptic technique ยังไม่ถูกต้อง 2

4 แนวทางการแก้ไข 1. ทบทวนหลักAseptic techniqe 1

5 2.ทบทวนเทคนิคการทำเย็บแผลให้ถูกต้องแก่เจ้าหน้าที่ห้องคลอดในหน่วยงาน

6 3. ตรวจดูสิ่งแวดล้อมในหน่วยงานความ 3
3.ตรวจดูสิ่งแวดล้อมในหน่วยงานความ ดูแลเรื่องสะอาดทั่วไปเช่น โต๊ะ เตียงหลังคลอดทำให้สะอาดเป็นมาตรฐานเดียวกัน 3.2ระบุการใช้น้ำยาระบุวันหมดอายุเช่นNSSเปิดแล้ว ใช้ใน24ชม จัดแยกขยะให้ถูกต้อง ขยะติดเชื้อให้เปลี่ยนทุกครั้งหลังคลอดเสร็จ 3.4 เปิดระบายอากาศห้องคลอดให้รับอากาศที่ดี

7 4.ตรวจดูบาดแผลฝีเย็บ ทำความสะอาดทุกวัน และมีการประเมินติดตามการดูแลแผล

8 5.ปรับปรุงการเฝ้าระวังให้มากขึ้น
5.1ระบบสื่อสาร ส่งต่อระหว่างเวร 5.2บันทึกความผิดถ้าพบแผลฝีเย็บแยกรายงานแพทย์เพื่อให้ Antibiotic 5.3ในรายแผลที่มีความเสี่ยงแผลใหญ่ ลึก และช้ำมาก รายงานแพทย์เพื่อพิจารณาให้ Antibiotic 5.4นำ Case แผลแยก มา conferene ทุกรายเพื่อแก้ไข 5.5 มีแบบเฝ้าระวังส่ง ICN เก็บข้อมูล 5.6 ติดตามแผนการจำหน่ายโดยควบคุมการเยี่ยมหลังคลอด โทรติดตาม,นัดดูแผล,คำแนะนำเมื่อเกิดแผลฝีเย็บแยก

9 6.ส่งเจ้าหน้าที่ใหม่ไปฝึกปฏิบัติงานที่รพ.ที่มีศักยภาพสูงกว่า
7.เจ้าหน้าที่ตระหนักถึงคำจำกัดความของแผลติดเชื้อในโรงพยาบาล และแผลแยกจากการเย็บไม่ถูกวิธีแยกจากกันจะได้แก้ปัญหาได้ถูกต้อง

10 ผลลัพธ์ ปีงบประมาณ2554(ต.ค.2553-พ.ค2554)ช่วงระยะเวลา 8 เดือนมีผู้ป่วยติดเชื้อแผลฝีเย็บ 4 ราย คิดเป็น2.89%

11 กิจกรรมคู่ขนาน 1.ติดตามดูเทคนิคการเย็บแผล เจ้าหน้าที่ใหม่โดยหัวหน้างาน
2.เมื่อพบปัญหาในการให้บริการ แก้ปัญหาทันทีเช่น การล้างมือให้ถูกต้อง การใช้น้ำยาไม่เหมะสมการใช้หลักAseptic techniqueไม่ถูกต้อง 3.เก็บข้อมูลคนที่เกิดแผลฝีเย็บแยกไหมหลุดและผู้ทำการเย็บแผลปํญหาที่พบแก้ไขเป็นรายบุคคลโดยหัวหน้างาน

12 การพัฒนาต่อเนื่อง 1.พัฒนาระบบการเฝ้าระวังแผลฝีเย็บ ที่คลอดใน โรงพยาบาลทุกรายและติดตามเมื่อจำหน่าย 2.ปัญหาแผลแยกไหมหลุดมีการพัฒนาโดยพี่สอนน้อง


ดาวน์โหลด ppt โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google