การนำ Software มาใช้ในการบริหารจัดการ ระบบบำรุงรักษาในโรงพยาบาล อาทิตย์ ชุมทอง กองวิศวกรรมการแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข โทร. 089-433-7166
Software ระบบบำรุงรักษาในโรงพยาบาล โปรแกรมทะเบียนครุภัณฑ์ (RMC2005) โปรแกรมบริหารงานซ่อมบำรุง (RMC2005) โปรแกรมแจ้งซ่อมออนไลน์ (RMC2005) โปรแกรมจัดซื้อ/จัดจ้าง (M2) โปรแกรมวัสดุคงคลัง (M2) โปรแกรมแจ้งเบิกออนไลน์ (M2) โปรแกรมระบบงานการเงินและบัญชี (M2) โปรแกรมคำนวณค่าเสื่อมสินทรัพย์ (ASSET) โปรแกรมยืม/คืนเครื่องมือแพทย์ออนไลน์ (MEC)
มูลเหตุชำรุด
ฟอร์มการยืมเครื่องมือ
ให้ยืมเครื่องมือ (ให้หน่วยงานอื่นยืม)
ตรวจเช็ครายการที่ขอยืม หากให้ยืมได้ทำตามขั้นตอน
รายการเครื่องมือหน่วยงานที่พร้อมให้ยืม
รายการเครื่องมือหน่วยงานที่พร้อมให้ยืม
รายละเอียดเฉพาะเครื่อง (หน่วยงานไม่สามารถแก้ไขได้)
แสดงรายการเครื่องมือของหน่วยงาน
บันทึกประวัติการใช้งานเครื่องมือภายในหน่วยงาน ส่วนของการเริ่มใช้เครื่องมือ (START) ส่วนของการหยุดใช้เครื่องมือ (STOP)
รายงานประวัติการยืมเครื่องมือแพทย์ จำแนกตาม ID.Cal
Money-to-money Software
การค้นหารายการจัดซื้อ/จัดจ้าง โดยระบุปีงบประมาณ , หรือเลขที่ใบเบิก ,รหัสกลุ่มงาน, ร้านค้าบริษัท
แสดงรายการที่ค้นหาด้วยรหัส ปีงบประมาณ คือ 53
รายละเอียดการจัดซื้อ/จัดจ้าง
รหัส-รายการที่สั่งซื้อ
คลังเวชภัณฑ์มิใช่ยา (ลักษณะเดียวกันกับคลังทั่วไป)
โปรแกรมเบิกออนไลน์ มีแบบฟอร์มการเบิก และรายงานค่าใช้จ่าย
โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสิน จังหวัดตาก โปรแกรมวัสดุคงคลัง โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสิน จังหวัดตาก
ระบบสารสนเทศภายในองค์กร I-dbase & DiOC ระบบสารสนเทศภายในองค์กร กองวิศวกรรมการแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ข้อมูลเครื่องมือแพทย์ ประวัติการได้มา / การติดตั้ง ประวัติการดูแล / การเตรียมพร้อมใช้ ประวัติการซ่อม / บำรุงรักษา / สอบเทียบ ประวัติการใช้งาน / ปัญหาการใช้ / การเลิกใช้ ข้อมูลคุณลักษณะ / ช่วงใช้งาน / ข้อจำกัด / ข้อควรระวัง / ความปลอดภัย
การพัฒนาสารสนเทศ ครบถ้วน สมบูรณ์ เข้าถึงสะดวก รวดเร็ว ทั่วถึง อัพเดท ความปลอดภัย รายงานทุกระดับ (ผู้บริหาร, ผู้ปฏิบัติ)
การจัดทำทะเบียนเครื่องมือ ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ จำแนกพิสูจน์ได้ แสดงป้ายลาเบลชัดเจน คงทน การเข้าถึงข้อมูลเครื่องมือ ทะเบียนเครื่องมือแพทย์ / ทะเบียนครุภัณฑ์ทั่วไป ประวัติการได้มา, การเปลี่ยนแปลง ประวัติการซ่อม, การบำรุงรักษา, การสอบเทียบ ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุง, การดูแลรักษา รายงานการประเมิน/การวิเคราะห์ต่างๆ
ความเป็นมาของ RMC [1] โปรแกรมซ่อมบำรุง [2] โปรแกรมทะเบียนครุภัณฑ์ [1] โปรแกรมซ่อมบำรุง [2] โปรแกรมทะเบียนครุภัณฑ์ [3] โปรแกรมแจ้งซ่อม [4] โปรแกรมสอบเทียบ/คำนวณค่าความไม่แน่นอน [5] โปรแกรมการบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ (MTM)
จำแนกหน่วยงานครอบครอง จำแนกประเภทครุภัณฑ์ จำแนกระดับความเสี่ยง จัดทำทะเบียนครุภัณฑ์ครบถ้วน สมบูรณ์ มีการจำแนกพิสูจน์ได้เฉพาะรายการ มีการปิดผนึกป้ายลาเบลแสดงตนชัดเจน / คงทน จำแนกกลุ่มครุภัณฑ์ จำแนกหน่วยงานครอบครอง จำแนกประเภทครุภัณฑ์ จำแนกระดับความเสี่ยง จำแนกกลุ่มเครื่องมือช่วยชีวิต/รักษาวินิจฉัย/สนับสนุน จำแนกกลุ่มซ่อม/บำรุงรักษา/สอบเทียบ
รหัสทะเบียนงานซ่อมบำรุง เช่น ABC-50-00001 การใช้ชื่อเครื่องมือแพทย์ การจำแนกกลุ่มความเสี่ยงเครื่องมือ การกำหนดรหัสสอบเทียบ (ID Cal) รายการการตรวจสอบ/บำรุงรักษา (Check List) การกำหนดค่าผิดพลาดที่ยอมรับได้***
การใช้ Auto-ID (Identity) การใช้หมายเลขครุภัณฑ์ เช่น 6515-001-0001/0001 การใช้รหัสสอบเทียบ เช่น INF-ICU-001 การใช้หมายเลขเครื่องมือ Serial No. การใช้รหัสเครื่องมือแพทย์
รวดเร็ว และถูกต้อง เพิ่มคุณภาพการให้บริการ ประหยัดงบประมาณ สร้างข้อมูลชี้วัด / ประเมินผล ระบบคุณภาพ
เตรียมตัว เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ ระบบ LAN ธุรการช่าง สถานที่
เครื่องคอมพิวเตอร์ Server : Dell, IBM, Acer Network OS : Windows2003, 2008Server Database : SQL2000,SQL2005,SQL2008 (Microsoft : Express)
การเชื่อมต่อฐานข้อมูล เชื่อมต่อโปรแกรมของกรมบัญชีกลาง เชื่อมต่อกับโปรแกรมที่ฝ่ายพัสดุฯพัฒนาขึ้น โปรแกรมอื่น ๆ
ต้องการระบบ RMC แจ้งไปที่กองวิศวกรรมการแพทย์ Download ติดตั้งใช้งานเอง ส่งทีมไปติดตั้ง/ปรับปรุง ประเมินผลการใช้งาน ปรับสู่ระบบใหญ่
ผู้ที่เกี่ยวข้อง ผู้บริหาร งานพัสดุ ทีมเครื่องมือของ รพ. งานซ่อมบำรุง IT หน่วยงาน / ผู้ใช้เครื่องมือ
แนวคิด RMC สนเรื่องใหญ่ ไม่ติดใจเรื่องเล็ก คิดแบบง่ายๆแต่ได้ผล เดินไม่หยุด แม้สะดุดก็ยังเดิน สร้างเครือข่ายมิตร ร่วมคิดร่วมทำ
ขอบคุณครับ