จังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง กลุ่มที่ 5 กลุ่มล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการผลิตผักปลอดภัยจากสารพิษ ดำเนินโครงการโดย กลุ่ม ล้านนา วิทยากร อาจารย์พรทิพา สุกใส ผู้ช่วยวิทยากร นาย ดิศพงษ์ อิ่มในธรรม ออ
รายชื่อกลุ่ม นางสาวจุฬามาศ กันทะวงค์ นายบุญเรือง ขันคำ นางสาวจุฬามาศ กันทะวงค์ นายบุญเรือง ขันคำ นางศิริพันธ์ เดชวงศ์ญา นายประโยชน์ ปันทะนา นางกัลยารัตน์ สมบัตินันท์ นางสุวรรณา มาปลิว นางสาวชฎารัตน์ เมฆเจริญ นายประเสริฐ พรหมวรรณ นางสาวไพรวัลย์ บุษราคัม นางพวงชมภู นิ่มหนู 11. นายสุริยวงศ์ สุริยุทธ 12. นางไข่แก้ว วิบุญมา 13. นายประสบ บุญจูบุตร 14. นาบุญโรจน์ ชัยศิลปิน 15. นายธงชัย หล่อวิไล 16. นายสุโรจน์ สิงห์กัณฑ์ 17. นายไมตรี วุฒิการณ์ 18. นางสุภาพร เหลี่ยววิริยกิจ 19. นางขวัญทอง สุนทรเกษมสุข 20. นางศิรินทิพย์ ถาวรศักดิ์ 21. นางคัทยา ธรรมริยา 22. นางสิริลักษณ์ เล็กกำแหง 23. นางวาสนา เพชรปัญญา 24. นางทรงนล กาศวิบูลย์ 25. นางนันทกาญจน์ พรคงเกษม
วิสัยทัศน์จังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง วิสัยทัศน์ของจังหวัด เชียงใหม่ (Vision) นครแห่งชีวิตและความมั่งคั่ง วิสัยทัศน์ของจังหวัดลำปาง (Vision) จังหวัดลำปางมุ่งพัฒนาไปสู่การเป็นเมืองน่าอยู่น่าเที่ยวภายใต้ความร่วมมือของทุกหน่วยงานที่จะช่วยทำให้เขียวขจีสะอาดและสวยงามควบคู่กับการเป็นเมืองเซรามิกแห่งประเทศไทยและอาเซียน
วิสัยทัศน์สำนักงานเกษตรจังหวัด จังหวัดชียงใหม่ ผลิตสินค้าเกษตรอาหารปลอดภัย เกษตรกรเชียงใหม่มั่งคั่ง จังหวัดลำปาง ศูนย์กลางผลิตและแปรรูปอาหารที่ปลอดภัย
ผลสัมฤทธิ์ ประชาชนในประเทศมีสุขภาพดีขึ้น ทำให้สภาพแวดล้อมระบบนิเวศน์เกิดความสมดุล G.D.P. ของประทศสูงขึ้น พัฒนาการผลิตเพื่อมุ่งสู่ครัวโลก
ผลลัพธ์ ผู้ผลิตและผู้บริโภคมีความปลอดภัยจากการบริโภคพืชผักปลอดสารพิษ ยกระดับมาตรฐานอาชีพเกษตรกร เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น 1,500 บาท/ราย รวมเป็นเงินขึ้น ทั้งสิ้น 3 ล้าน 7 แสน 5 หมื่น บาท ระบบนิเวศน์ดี
ผลผลิต พืชผักปลอดภัย 625 ไร่ เกษตรกรที่ผ่านการอบรม 2,500รายมีความรู้ความเข้าใจในการผลิตพืชผักปลอดภัยจากสารพิษ
กำหนดขั้นตอนการดำเนินงาน คัดเลือกพื้นที่ คัดเลือกเกษตรกร ประชุมชี้แจง โครงการฯ ทำแผนการดำเนินงาน จัดทำแผน/โครงการ ขอรับการสนับสนุน ดำเนินโครงการตามแผนงาน สรุปและประเมินผล
การมีส่วนร่วมของประชาชน มีการจัดระดมหุ้น จัดเวทีชุมชน
ถ่ายทอดความรู้ตามระบบโรงเรียนเกษตรกร วิธีการนำไปสู่การปฏิบัติ ถ่ายทอดความรู้ตามระบบโรงเรียนเกษตรกร มีการตรวจวิเคราะห์สารพิษที่ตกค้างในพืชผัก
กลยุทธ์หน่วยงานองค์กรภาครัฐบาล ตรงตามกลยุทธ์ที่ 8 เสริมสร้างขีดความสามารถของเกษตรกร ในการผลิตและจัดการสินค้าเกษตร ที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัย
การเมือง ได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณจาก องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น(อปท.)/ผู้นำชุมชน ในด้านงบประมาณบริหารจัดการ มีการประชาสัมพันธ์และการรณรงค์จากภาครัฐบาล
สังคมการเกษตร มีการรวมกลุ่ม สร้างเครือข่าย
เศรษฐกิจ มีการระดมทุน การตลาด
เทคโนโลยี ถ่ายทอดความรู้แบบมีส่วนร่วมตามแบบ FFS
คน เกษตรกร วิทยากร ผู้นำท้องถิ่น เกษตรกรที่ประสบความสำเร็จ
เทคโนโลยี ด้านการผลิต ใช้กระบวนการ FFS ด้านการตลาด จัดทำเวบไซต์, ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ปลูกฝังจิตสำนึก การบรรจุภัณฑ์ ใช้เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน
วัตถุดิบ เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยอินทรีย์ หลักสูตรการอบรม(FFS)
เงิน งบประมาณสนับสนุนจาก CEO /อบต/อบจ./กรม/อปท. สถาบันการเงิน หน่วยงานเอกชน สถาบันการเงิน
จบการนำเสนอ ...
สวัสดี