การแก้ไขปัญหาทักษะการพิมพ์สัมผัสเพื่อพัฒนาความเร็วและ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Advertisements

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง พัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส นักเรียนระดับ ปวช.1
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่

ชื่อผลงานวิจัย ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์
ผลงานวิจัยในชั้นเรียน โดย นางสาวแสงดาว บัวอินทร์
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การฝึกทักษะการเล่นลูกสองมือล่าง (อันเดอร์) โดยใช้กระบวนการฝึกทักษะของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 นางพัชลินทร์ แดงประเสริฐ.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดไทย 1 โดยใช้แบบฝึกกลุ่มคำสั้น ๆ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 โดย นางสุกัญญา พลรัตนมงคล.
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
อาจารย์นริสรา คลองขุด
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
นายศิวรุจน์ ศรีแจ่มใส
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก ในรายวิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษา ระดับ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางชลิตา บุญวันท์ การฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้โปรแกรม เกมคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต

ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแก้ไขปัญหาทักษะการพิมพ์สัมผัสเพื่อพัฒนาความเร็วและ ความแม่นยำของ นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 ห้อง 1 สาขาพณิชยการ โดยใช้แบบทดสอบการพิมพ์จับเวลา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชุมพรเขต 2 ของ จินตนา โภคากร วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร สำนักงานบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน  

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา การจัดการเรียนการสอนวิชาพิมพ์ดีดไทย 1 รหัสวิชา 2201-1005 ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) เป็นวิชาที่สร้างทักษะขั้นพื้นฐานของการเรียนในสาขานี้ให้เกิดกับนักเรียนทุกคน โดยสามารถนำวิชานี้ไปใช้ผลิตเอกสารสำหรับการเรียนรายวิชา อื่น ๆ จากการสังเกตนักเรียนที่เข้ามาเรียนพบว่านักเรียนไม่มีปัญหาในการเรียนรู้เรื่องการพิมพ์แป้นอักษรล่างและแป้นอักษรบน แต่จะมีปัญหาเรื่องการพิมพ์งานตามแบบฝึกพิมพ์จับเวลา ในช่วงการเรียนการพิมพ์สัมผัสเพื่อพัฒนาความเร็วและความแม่นยำ เพราะนักเรียนต้องพิมพ์ให้ได้ 25 คำต่อนาทีถึงจะผ่านเกณฑ์ และในทุก ๆ ปีที่มี การเรียนการสอนจะมีนักเรียนส่วนมาก ก้าวนิ้วผิดหลักการพิมพ์ มองแป้นอักษรขณะพิมพ์งาน และไม่ค่อยพิมพ์งานส่งครบตามที่กำหนดไว้ พิมพ์งานช้าและพิมพ์ผิดมาก และเมื่อถึงช่วงการเรียนการพิมพ์สัมผัสเพื่อพัฒนาความเร็วและความแม่นยำ นักเรียนดังกล่าวจะไม่สามารถพิมพ์แบบฝึกหัดการพิมพ์จับเวลาผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ทำให้เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อการจัดการเรียนการสอน

จากเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นบุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชุมพร เขต 2 ซึ่งเป็นครูประจำ ทำหน้าที่ปฏิบัติงานสอน จึงสนใจศึกษาเกี่ยวกับการพิมพ์สัมผัสของผู้เรียน เพื่อพัฒนาความเร็วและความแม่นยำ สามารถนำไปใช้ร่วมกับการพิมพ์งานขั้นผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546)

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อสร้างและพัฒนาแบบฝึกหัดการพิมพ์จับเวลา ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 สาขาพณิชยการ เรื่อง การแก้ไขปัญหาทักษะการพิมพ์สัมผัสเพื่อพัฒนา ความเร็วและความแม่นยำให้มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อพัฒนาความเร็วและความแม่นยำ โดยมีเป้าหมายให้นักเรียน ที่พิมพ์ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด สามารถพัฒนาความเร็วและความแม่นยำด้วยแบบฝึกหัดการพิมพ์จับเวลา ได้ถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 25 คำต่อนาที 3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางทักษะการพิมพ์จับเวลา เรื่อง การแก้ไขปัญหาทักษะ การพิมพ์สัมผัสเพื่อพัฒนาความเร็วและความแม่นยำ ก่อนและหลังการฝึกพิมพ์ โดย ใช้แบบทดสอบการพิมพ์จับเวลา

ความสำคัญของการวิจัย สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชุมพร เขต 2 สามารถนำข้อมูล ไปใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอน กลุ่มงานวิชาการของสถานศึกษา มีข้อมูลสำหรับพัฒนาในการด้านการเรียน การสอนในครั้งต่อไป

ผลการวิจัย ผลจากการทดสอบหลังเรียนพบว่านักเรียนจำนวน 21 คนจาก 31 คน สามารถพิมพ์ 3 6 1 7 พิมพ์งานตามแบบฝึกพิมพ์สัมผัสเพื่อพัฒนาความเร็วและความแม่นยำได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ 25 คำต่อนาที ส่วนอีก 10 คน ยังพิมพ์ไม่ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดจากการสังเกตของผู้วิจัยพบว่า พบว่านักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์บางคนหันกลับไปดูแป้นอักษรบนและบางครั้งก็มองนิ้วตนเองว่าวางถูกแป้นหรือไม่ ทำให้เกิดการล้าช้าในการพิมพ์และมองผิดบรรทัด จำนวนคำสุทธิคงที่ไม่พัฒนาขึ้น

การสังเกตครั้งต่อไปของผู้วิจัยพบว่านักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ทุกคนไม่มีสมาธิในการพิมพ์เพราะพะวงกับคำผิดกลัวไม่ผ่านเกณฑ์ เนื่องจากตนเองได้พิมพ์ใกล้จะผ่านเกณฑ์อยู่แล้ว ไม่มั่นใจในการเคาะแป้นไปยังตัวอักษรต่าง ๆ จึงกลับไปมองแป้น และเมื่อก้าวไปยังแป้นที่อยู่ไกล ๆ ก็จะใช้นิ้วที่ตนเองถนัดพิมพ์ ทำให้การพิมพ์ไม่สม่ำเสมอ พอคำผิดเริ่มมากก็จะหยุดพิมพ์ไม่ยอมพิมพ์ต่อ ผู้วิจัยได้แก้ไขปัญหานี้ โดยกำหนดให้นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ทั้ง 10 คน ทำการฝึกพิมพ์แบบฝึกพิมพ์จับเวลาเพิ่มเติม ช่วงพักเที่ยงกลางวัน หลังเลิกเรียนตอนเย็น และนักเรียนสามารถพิมพ์ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้

อาคารเรียน

ห้องพิมพ์ดีดไทย

ฝึกทักษะการพิมพ์

สิ้นสุดการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ