คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 01. ข้อมูลประชาชน/ผู้ป่วย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
สปสช. เขต 8 อุดรธานี รังสรรค์ ศรีภิรมย์ 10 พฤษภาคม 2556
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
บริการปฐมภูมิ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
อุทัยวรรณ สกลวสันต์ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลน่าน
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
นโยบายด้านบริหาร.
การลงข้อมูลให้สมบูรณ์ และได้แต้ม
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การกำหนดค่าเบื้องต้นเพื่อการใช้งาน และส่งออก 43 แฟ้ม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
ขอบข่ายของระบบ รองรับระบบงานของ บริษัทประกันภัย รองรับระบบงานของ
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 04. ข้อมูลบริการผู้ป่วยนอก
งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สสจ.เลย 31 กรกฎาคม 2557
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 03. ข้อมูลการให้บริการ
ความละเอียดหน้าจอ ที่แนะนำ ทางลัดเข้าระบบ บันทึกข้อมูลทั้งหมด หัวข้อชี้แจง : 1.การบันทึก Setting 2.การบันทึกแผนงานโครงการ 2558 หัวข้อชี้แจง : 1.การบันทึก.
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 05. ข้อมูลบริการผู้ป่วยใน
NAMPHONG DATA SYSTEM(NDS 1.0) by Samak Sonpirom
LOGO. เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทะเบียนราษฎร.
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
ประชุม web conference ติดตามข้อมูลแฟ้มมาตรฐาน วันที่ 24 เมษายน 2557
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
LOGO. เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ
LOGO. เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 01. ข้อมูลประชาชน/ผู้ป่วย คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 01. ข้อมูลประชาชน/ผู้ป่วย เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ © 2012 www.im-hospital.blogspot.com

แฟ้มข้อมูลทางการแพทย์และสุขภาพ เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com แฟ้มข้อมูลทางการแพทย์และสุขภาพ

เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com (1) PERSON ข้อมูลทั่วไปของประชาชนในเขตรับผิดชอบและผู้ที่มาใช้บริการประชาชนทุกคนที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบ (1,2) ประชากรทุกคนที่อาศัยในเขตรับผิดชอบ (3)ผู้มารับบริการที่อาศัยอยู่นอกเขตรับผิดชอบ (4,5) ข้อมูลที่บันทึก 1. ข้อมูลบ้าน 2. ข้อมูลบุคคลในบัญชี 1

เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com (1) PERSON

(1) PERSON ตารางที่ต้องตรวจสอบ/แก้ไข person_duty สถานะในชุมชน เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com (1) PERSON ตารางที่ต้องตรวจสอบ/แก้ไข person_duty สถานะในชุมชน blood_group หมู่เลือด provis_bgroup หมู่เลือด person_labor_type รหัสความเป็นคนต่างด้าว provis_typearea รหัสความเป็นคนต่างด้าว(ส่งออก) house_regist_type สถานะบุคคล occupation รหัสอาชีพเก่า provis_occupa รหัสอาชีพใหม่ provis_race รหัสเชื้อชาติ สัญชาติ

เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com (2) ADDRESS ข้อมูลที่อยู่ของผู้ที่มารับบริการที่อาศัยอยู่นอกเขตรับผิดชอบ(4,5) หรือประชาชนที่อาศัยในเขตรับผิดชอบแต่มีทะเบียนบ้านอยู่ นอกเขตรับผิดชอบ(3)

เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com (3) DEATH ข้อมูลประวัติการเสียชีวิตของประชาชนทุกคนที่อาศัยในเขตรับผิดชอบ และผู้ป่วยที่มารับบริการ หมายเหตุ เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาล หมายถึงตำบลที่ตั้ง หรือพื้นที่รับผิดชอบ กรณีเสียชีวิตในโรงพยาบาล “โรงพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยจะเป็นผู้บันทึกข้อมูล” สถานบริการปฐมภูมิจะบันทึกประชาชนในเขตรับผิดชอบที่เสียชีวิตเฉพาะ เสียชีวิตนอกสถานพยาบาล เสียชีวิตในสถานพยาบาลนอกสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธาธารณสุข

เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com (3) DEATH ตัวอย่าง 1 กรณีคนไข้ในรับผิดชอบของหน่วยบริการปฐมภูมิเสียชีวิตที่โรงพยาบาล ให้โรงพยาบาลเป็นผู้บันทึกข้อมูล (ใน HOSxP ของโรงพยาบาล)

เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com (3) DEATH ตัวอย่าง 1 หน่วยบริการปฐมภูมิ (คนไข้เสียชีวิตในโรงพยาบาล : HOSxP PCU) กดปิดไม่ต้องบันทึก

(3) DEATH ดังนั้นเมื่อส่งออก 43 แฟ้มจะไม่มีข้อมูล DEATH ส่งออก เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com (3) DEATH ดังนั้นเมื่อส่งออก 43 แฟ้มจะไม่มีข้อมูล DEATH ส่งออก

(3) DEATH ตัวอย่าง 2 กรณีคนไข้ในรับผิดชอบของหน่วยบริการปฐมภูมิ เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com (3) DEATH ตัวอย่าง 2 กรณีคนไข้ในรับผิดชอบของหน่วยบริการปฐมภูมิ - เสียชีวิตนอกสถานพยาบาล - เสียชีวิตในสถานพยาบาลนอกสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข หน่วยบริการปฐมภูมิบันทึกข้อมูลลง HOSxP PCU หากไม่ทราบสถานที่เสียชีวิตให้ลงบันทึกเป็น “99999” หมายเหตุ แนวทางการลงบันทึกข้อมูลดังกล่าว เข้าใจว่าเป็นการป้องกันการส่งรายงานข้อมูลคนตายซ้ำซ้อนระหว่าง รพ.สต. และ โรงพยาบาล

เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com (5) CARD ข้อมูลประวัติการมีหลักประกันสุขภาพของประชาชนทุกคนในเขตรับผิดชอบ และผู้ป่วยที่มารับบริการ

(5) CARD ตารางที่ต้องตรวจสอบ/แก้ไข pttype ประเภทสิทธิการรักษารหัสเดิม เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com (5) CARD ตารางที่ต้องตรวจสอบ/แก้ไข pttype ประเภทสิทธิการรักษารหัสเดิม provis_instype ประเภทสิทธิการรักษารหัสใหม่

เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com (40) DRUGALLERGY ข้อมูลประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยที่มารับบริการ ( HOSxP)

เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com (40) DRUGALLERGY ข้อมูลประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยที่มารับบริการ ( HOSxP PCU)

เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com (40) DRUGALLERGY ข้อมูลประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยที่มารับบริการ ( HOSxP PCU)

(40) DRUGALLERGY ตารางที่ต้องตรวจสอบ/แก้ไข เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com (40) DRUGALLERGY ตารางที่ต้องตรวจสอบ/แก้ไข allergy_seriousness ระดับความรุนแรงของการแพ้ยา allergy_relation ระดับความสัมพันธ์ ประเภทการวินิจฉัยการแพ้ยา