งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
แนวทางการวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องและการวางแผนดำเนินงานการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ

2 ประเด็นนำเสนอ การกำหนดทิศทางการดำเนินการของพื้นที่
การวิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้องกับปัญหา(การฆ่าตัวตาย) วิเคราะห์ความเป็นไปได้เชิงกลยุทธ์ในการป้องกันปัญหา (การฆ่าตัวตาย) การจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันปัญหา(การฆ่าตัวตาย)

3 การกำหนดทิศทางการดำเนินการของพื้นที่
การกำหนดวิสัยทัศน์ (Vision ) การกำหนดพันกิจ (Mission)  การกำหนดเป้าหมาย (Goal) การกำหนดตัวชี้วัด (Indicator) 

4 ตัวอย่าง โรงพยาบาลชุมชนมีสุข
วิสัยทัศน์ (Vision ) เป็นโรงพยาบาลชุมชนที่ให้บริการสุขภาพจิตใกล้บ้าน พันธกิจ (Mission)  บริการผู้ป่วยจิตเวชแบบผู้ป่วยนอก สนับสนุนให้เครือข่ายบริการสุขภาพดูแลผู้ป่วยจิตเวช

5 การกำหนดทิศทางการดำเนินการของพื้นที่
 เป้าหมาย (Goal) ผู้ป่วยจิตเวชเข้าถึงบริการ  ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชเข้าถึงบริการ

6 การวิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้องกับปัญหา(การฆ่าตัวตาย)
การประเมินสภาพแวดล้อมภายใน คือ การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน การประเมินสภาพแวดล้อมภายนอก คือ การวิเคราะห์ โอกาส และภัยคุกคาม

7 SWOT Analysis ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก SWOT Analysis Strength จุดแข็ง
Weakness จุดอ่อน ปัจจัยภายใน Opportunity โอกาส Threat ภัยคุกคาม ปัจจัยภายนอก SWOT Analysis

8 ตัวอย่าง โรงพยาบาลชุมชนมีสุข
การวิเคราะห์จุดแข็ง มีคลินิกเฉพาะทางด้านจิตเวช มีผู้เชี่ยวชาญด้านจิตเวช มีการทำงานเป็นทีมกับ รพสต. อสม. แกนนำ เข้มแข็ง มีระบบEMSส่งต่อ การวิเคราะห์จุดอ่อน บุคลากรน้อยภาระงานมาก บุคลากร รพสต.ขาดความรู้ ทักษะ ขาดการส่งต่อข้อมูลดูแลคนไข้ ชุมชนขาดความรู้ มีทัศนคติ เชิงลบต่อผู้ป่วย

9 ตัวอย่าง โรงพยาบาลชุมชนมีสุข(ต่อ)
การวิเคราะห์โอกาส นโยบายงานสุขภาพจิต ประชาชนเข้าไม่ถึงบริการ มีการสนับสนุนงบประมาณจาก หน่วยงานภายนอก การวิเคราะห์ภัยคุกคาม ภาคีเครือข่ายนอกระบบไม่ร่วมมือ เท่าที่ควร(ตำรวจ อบต.) ท้องถิ่นไม่สนับสนุนงบประมาณกองทุน สุขภาพตำบล การนำ พรบ.สุขภาพจิตไปใช้นอกภาคี เครือข่ายไม่ได้รับความร่วมมือ ปัญหายาเสพติด

10 วิเคราะห์ความเป็นไปได้เชิงกลยุทธ์
การนำจุดแข็งมาเสริมโอกาส (SO) การนำโอกาสมาปิดจุดอ่อน (OW) การนำจุดแข็งมาเอาชนะอุปสรรค (ST) นำจุดอ่อนมาเป็นโอกาสพัฒนา หรือ นำอุปสรรคมา เป็นประเด็นท้าทาย

11 ตัวอย่าง โรงพยาบาลชุมชนมีสุข
การนำจุดแข็งมาเสริมโอกาส (SO) พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตในชุมชน

12 ตัวอย่าง โรงพยาบาลชุมชนมีสุข
การนำโอกาสมาปิดจุดอ่อน (OW) พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขระดับ รพสต. พัฒนาความรู้ ทัศนคติคนในชุมชนต่อผู้ป่วยจิตเวช พัฒนาระบบส่งต่อข้อมูล พัฒนาระบบส่งต่อโดยเครือข่ายมีส่วนร่วม

13 ตัวอย่าง โรงพยาบาลชุมชนมีสุข
การนำจุดแข็งมาเอาชนะอุปสรรค (ST) พัฒนาคลินิกบำบัดยาเสพติดในสถานพยาบาลเครือข่าย พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตฉุกเฉินด้วย EMS

14 การจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
แผนกลยุทธ์ กิจกรรม และตัวชี้วัด

15 ตัวอย่าง โรงพยาบาลชุมชนมีสุข
พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตในชุมชน กิจกรรม เสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายบริการสุขภาพจิต รพสต. พัฒนารูปแบบการให้บริการสุขภาพจิตใน รพสต. ตัวชี้วัด ผลการดำเนินการให้บริการ(การคัดกรอง การส่งต่อ การดูแลต่อเนื่อง)

16 แบ่งกลุ่มตามพื้นที่ 4 กลุ่ม
กำหนดวิสัยทัศน์ พันธะกิจ และเป้าหมายของพื้นที่ ตนเอง วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคาม วิเคราะห์ความเป็นไปได้เชิงกลยุทธ์ จัดทำแผนปฏิบัติการ(กิจกรรม) แนวทางการติดตามผล และตัวชี้วัด

17

18

19 คำถาม ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ


ดาวน์โหลด ppt สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google