ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
1. ท่าทีรัฐบาลไทย สนับสนุนและส่งเสริม CF การลงนาม MOU ไทย-ลาว ในเรื่อง CF - ยืนยันตลาดรับซื้อในประเทศไทย - ยกเว้นภาษีศุลกากรนำเข้า ภายใต้กรอบ AFTA และAISP - หารือและทบทวนรายการสินค้ายกเว้นภาษี - หารือปริมาณสินค้ารับซื้อ ราคา การขนส่ง และการจ่ายเงิน - มีกลไกประสานงานสองฝ่าย โดยกระทรวงพาณิชย์ของไทย และกระทรวงการค้า ต่างประเทศลาวเป็นหน่วยประสานงานหลัก - มีการหารือทบทวนแผนและผลอย่างสม่ำเสมอ - ฝ่ายไทยแจ้งเกี่ยวกับแผนการผลิต/รายละเอียด (ชนิดของพืช/สัตว์ ขนาดและตำแหน่ง ของที่ดิน)
1. ท่าทีรัฐบาลไทย - ภาครัฐสองฝ่ายช่วยจับคู่ธุรกิจ - ภาครัฐสองฝ่ายให้ข้อมูลเกี่ยวกับ CF แก่เอกชน - ภาครัฐสองฝ่ายอำนวยความสะดวกการผ่านแดนของบุคลากร - ฝ่ายลาวจัดหาแปลงทดลองก่อนทำจริง - ฝ่ายลาวอำนวยความสะดวกการนำเข้าเมล็ดพันธุ์ อุปกรณ์ ปุ๋ย โดยยกเว้นภาษีอากร - ฝ่ายลาวอำนวยความสะดวกยกเว้นภาษีอากรขาออก - ฝ่ายลาวในระดับท้องถิ่นออก C/O ให้ - สองฝ่ายดูแลมาตรฐานสินค้าเกษตร/อำนวยความสะดวกส่งออก/นำเข้า โดยจัดตั้ง One Stop Service - การถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่ลาว
2. ประเด็นสำคัญสำหรับการลงทุน Contract Farming ในลาว พืชและสัตว์ที่จะลงทุน ผู้ลงทุน เกษตรกรลาว นโยบายรัฐบาล สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจการยอมรับของฝ่ายลาว กลไกกำกับให้ดำเนินการตามสัญญา การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพของผู้ลงทุน
2. ประเด็นสำคัญสำหรับการลงทุน Contract Farming ในลาว ความเข้าใจรอบด้านเกี่ยวกับพืชที่ส่งเสริมการปลูก สัมปทานที่ดิน การประสานกับเกษตรกรอย่างทั่วถึง จังหวัดนำร่องมีจำกัด
3. ความต้องการของฝ่ายลาว หลายแขวงยินดีที่จะมีความร่วมมือ CF ขอให้กระบวนการผลิตครบวงจร มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตทุกขั้นตอน ให้ความรู้แก่เกษตรกรลาวเกี่ยวกับ CF ขอให้ใช้แรงงานลาว ให้บริหารการผลิตให้สมดุลกับปริมาณสินค้าในตลาด ขอโควต้านำเข้าสินค้าเกษตรของไทยตรงกับระยะเวลาเก็บเกี่ยวผลผลิตของลาว
4. ความต้องการของผู้ประกอบการไทย ให้ภาครัฐผลักดันให้คู่สัญญาฝ่ายลาวเร่งดำเนินโครงการตามสัญญาที่ได้ลงนามร่วมกัน ให้ภาครัฐแนะนำข้อมูล แนะช่องทางการติดต่อที่ถูกต้อง ให้ภาครัฐผลักดันให้เอกชนสามารถเข้าไปสำรวจพื้นที่ ให้ภาครัฐช่วยเจรจากับฝ่ายลาว ให้อนุมัติสัมปทานที่ดินขนาดใหญ่ที่เคยรับว่าให้ หลังจากมีการทอดลองปลูกไปแล้ว
5. สรุป ภาครัฐสองฝ่ายต้องสร้างความเชื่อมั่นแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมการทำ CF ในลักษณะที่กว้างขวางขึ้น ให้มีการอบรมเทคนิคการเกษตรอย่างต่อเนื่อง ให้มีความช่วยเหลือด้านสินเชื่อจากธนาคาร ส่งเสริมและอำนวยความสะดวก และลดเวลาที่จะใช้ในกระบวนการตรวจปล่อยสินค้าที่ด่าน ศึกษาพื้นที่และสภาพแวดล้อมจริง ควรมีการจัดทำร่างตัวอย่างสัญญาของฝ่ายไทยในลักษณะกว้างๆ