รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการตัดเกลียวด้วยมือ เรื่อง การพัฒนาทักษะการตัดเกลียวด้วยมือ โดยใช้แบบฝึกปฏิบัติ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ ผู้เสนอนายพิพิธ อังติกุล สาขาวิชา เครื่องกล สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา กระบวนการจัดการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอนถือเป็นตัวกลางหรือช่องทางในการถ่ายทอดองค์ความรู้ทักษะ ประสบการณ์ วัตถุประสงค์ของนักเรียนที่จบมัธยมศึกษาตอนต้น เข้าเรียนต่อในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ จะต้องเรียนวิชาที่เป็นวิชาชีพช่างพื้นฐานเพื่อปรับพื้น เช่นวิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น งานฝึกฝีมือ งานช่างยนต์เบื้องต้น งานไฟฟ้าเบื้องต้น งานเชื่อมโลหะแผ่นเบื้องต้น งานเขียนแบบ เป็นต้น ในความเป็นจริง นักเรียนที่จบมัธยมศึกษาตอนต้นนั้นไม่มีความรู้ในเรื่องช่างและความถนัดทางด้านช่างเลยแม้แต่น้อย เพราะเนื้อหาวิชาไม่ได้มุ่งให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะด้านช่าง แต่มุ่งให้นักเรียนเรียนรู้วิชาหมวดสามัญเพื่อเป็นพื้นฐานอย่างกว้าง ให้นักเรียนได้หาจุดสนใจว่าตนเองจะหันไปศึกษาและประกอบอาชีพของตนในด้านใดบ้าง จึงเป็นเหตุทำให้นักเรียนที่มาเรียนทางด้านช่างอุตสาหกรรมขาดทักษะอย่างมาก
วัตถุประสงค์งานการวิจัย 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะการตัดเกลียวด้วยมือ ได้ตรงตามหลักเกณฑ์ที่ถูกต้อง และยังสามารถตัดเกลียวด้วยมือให้ได้ผลงานที่ได้ระดับ ฉาก และขนาด ได้ถูกต้องรวดเร็วตามแบบที่กำหนดไว้
ผลต่างคะแนนก่อนและหลังการใช้แบบฝึก ตารางแสดงการเปรียบเทียบคะแนน เรื่องการพัฒนาทักษะการตัดเกลียวด้วยมือโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบคะแนน เรื่องการพัฒนาทักษะการตัดเกลียวด้วยมือโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ เลขที่ คะแนนสอบ (เต็ม 10 คะแนน) ก่อนการใช้แบบฝึก หลังการใช้แบบฝึก ผลต่างคะแนนก่อนและหลังการใช้แบบฝึก 1 3 8 5 2 6 4 7 9 10
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 26 4 8 27 3 5 28 29 30 2 7 31 32 33 6 34 35 36 9 37 38 39 1 40 41 42 ผลรวม 95 327 232
สรุปผล การเปรียบเทียบคะแนนก่อนการใช้รูปแบบการสอนโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติ และหลังการใช้รูปแบบการสอนโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น พบว่า คะแนนเฉลี่ยหลังการใช้รูปแบบการสอนโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติ เท่ากับ 7.79 คะแนน ส่วนคะแนนเฉลี่ยก่อนการใช้รูปแบบการสอนโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติ เท่ากับ 2.26 คะแนน ผลต่างคะแนนก่อนและหลังการใช้แบบฝึก เท่ากับ 5.53 คะแนน แสดงว่า นักเรียนมีทักษะการตัดเกลียวด้วยมือ ได้ตรงตามหลักเกณฑ์ที่ถูกต้อง และยังสามารถตัดเกลียวด้วยมือให้ได้ผลงานที่ได้ระดับ ฉาก และขนาด ได้ถูกต้องรวดเร็วตามแบบที่กำหนดไว้
ชิ้นงาน ภาพประกอบ ทักษะงานตัดเกลียวด้วยมือ ชิ้นงาน
ภาพประกอบ Screw Pitch Gauge ลักษณะของดายส์แบบต่างๆ
ภาพประกอบ ด้ามจับดายส์
ผู้อำนวยการวรรณา ตันประภัสร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี ผู้สนับสนุนการวิจัย ผู้อำนวยการวรรณา ตันประภัสร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี สถานศึกษารับรางวัลพระราชทาน 2 ครั้งต่อเนื่อง ระดับอาชีวศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ วิสัยทัศน์ มุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศและความเป็นสากล ปรัชญา มาตรฐานดี กิจกรรมเด่น เน้นวินัย