การปรับเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ในระดับบริการปฐมภูมิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
Advertisements

งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
บริการปฐมภูมิ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
จากแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สู่การพัฒนางานเภสัชกรรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปรับเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ในระดับบริการปฐมภูมิ การปรับเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ในระดับบริการปฐมภูมิ

กรอบหลักการ แนวคิด การปรับปรุงข้อบังคับ /เกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ชี้ทิศการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ โดยเฉพาะบริการปฐมภูมิ และระบบสุขภาพชุมชน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพมาตรฐาน รวมทั้งการส่งเสริมศักยภาพประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะบริการที่ยังเป็นช่องว่าง เช่น บริการกายภาพบำบัด บริการแพทย์แผนไทย บริการ PP บริการทันตกรรม บริการด้านเภสัชกรรม ร้านยาคุณภาพ ฯลฯ เป็นเกณฑ์ที่ตอบสนองความจำเป็น/ปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งเสริมให้ชุมชน ท้องถิ่น ภาคเอกชน และ social enterprise เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพมาตรฐาน หน่วยที่ทำหน้าที่จัดให้มีบริการ ต้องทำหน้าที่ในการให้บริการด้วย กำหนดให้หน่วยที่ทำหน้าที่ให้บริการในระดับปฐมภูมิ หน่วยร่วมให้บริการต่างๆสามารถรับเงินตรงจาก สปสช.ได้ตามเงื่อนไขที่กำหนด สามารถใช้ประโยชน์จากผลการตรวจประเมิน ในการซื้อบริการเชิงกลยุทธ์

การจัดประเภทของหน่วยบริการ ระดับบริการ ประเภทหน่วยบริการเดิม ประเภทหน่วยบริการที่ขอปรับใหม่ หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการร่วมให้บริการ หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการร่วมให้บริการ ปฐมภูมิ (Primary Care) หน่วยบริการร่วมให้บริการ เหตุที่ต้องแยกหนวยบริการรับส่งต่อต้องครอบคลุมที่ค้างคืนกับไม่ค้างคืน เพราะต้องการให้สถานบริการที่บริการแบบOPD สามารถขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการได้ และจะทำให้สามารถคุ้มครองสิทธิ์การรับการช่วยเหลือเบื้องต้นตามม.๔๑ ได้ จำเป็นต้องระบุในสัญญาไหม ว่าจะต้องระบุรพ.รับส่งต่อระดับสูง ไม่อยู่ในข้อบังคับ แต่เป็นการบริหารจัดการเรื่องระบบส่งต่อ ควรจะ ระบุในสัญญากับเอกชน กรณีส่งต่อที่สูงกว่า จะต้องถูกหักค่าใช้จ่าย ฉะนั้น หน่วยบริการรับส่งต่อให้หมายถึงส่งต่อทั่วไปเท่านั้น ที่จะอยู่ในเงื่อนไขของการลงทะเบียนประชาชน ทุติยภูมิ + ตติยภูมิ (Hospital Care) หน่วยบริการที่รับการส่งต่อทั่วไป หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะทาง

ภาพระบบบริการปฐมภูมิในอนาคต (5ปีข้างหน้า) ประชาชนมีศักยภาพดูแลตนเอง ลดปัจจัยเสี่ยงด้าน สุขภาพ มีหมอประจำครอบครัว และรู้ว่าใครคือหมอ ประจำครอบครัว ของตน เมื่อเจ็บป่วยได้รับการดูแล และส่งต่ออย่างเหมาะสม หมอประจำครอบครัว หมายถึง แพทย์ แพทย์ FM และทีมสหวิชาชีพ และมีสมรรถนะด้านเวชศาสตร์ ครอบครัว

ภาพระบบบริการปฐมภูมิในอนาคต (5 ปีข้างหน้า) หน่วยบริการ รับส่งต่อ หน่วยบริการประจำ PCC หน่วย บริการ ร่วมให้ บริการ PC U PC U PC U หน่วยบริการร่วมให้ บริการ PC U PCC : Primary Care Center ( หน่วยบริการปฐมภูมิแบบเบ็ดเสร็จ )

รูปแบบการจัดบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ มี 2 รูปแบบ คือ หน่วยบริการปฐมภูมิแบบเบ็ดเสร็จ (PCC: Primary Care Center) หมายถึง หน่วยบริการที่สามารถจัดบริการได้ครบถ้วนตามขอบเขตบริการปฐมภูมิ โดยมีแพทย์ปฏิบัติงานประจำ ร่วมกับทีมสหวิชาชีพ และมีศักยภาพครบถ้วนตามเกณฑ์การตรวจประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิ สามารถพัฒนาและขอขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการประจำได้ ได้แก่ คลินิกชุมชนอบอุ่น ศสม. ศบส. เป็นต้น หน่วยบริการปฐมภูมิ (PCU: Primary Care Unit) เป็นหน่วยบริการที่สามารถจัดบริการได้ตามขอบเขตบริการปฐมภูมิ มีแพทย์ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลและให้คำปรึกษา หรือไปบริการเป็นบางวัน แต่มีทีมสหวิชาชีพ ปฏิบัติงานประจำ ได้แก่ รพ.สต. ศสม. หน่วยบริการปฐมภูมิของรพช./รพท./รพศ.ที่ไม่มีแพทย์ประจำ ศบส. เป็นต้น

แนวทางการปรับเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ปรับภาษาให้เข้าใจง่าย ลดความสับสนในการตีความ กำหนดบทบาทหน่วยบริการประจำ ในการบริหารจัดการเครือข่ายหน่วย บริการ ให้ชัดเจนขึ้น สอดคล้องกับ DHS ทบทวนปรับปรุงเกณฑ์ให้สอดคล้องกับ service plan และมาตรฐานอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะเกณฑ์บริการ และเกณฑ์บุคลากร การมีส่วนร่วมของ ชุมชน/ท้องถิ่น ปรับแนวทางการให้คะแนนในการตรวจประเมินหน่วยบริการในระดับบริการ ปฐมภูมิ ทั้งรายข้อและการสรุปผลการตรวจประเมิน เพื่อแสดงระดับคุณภาพ และชี้ทิศการพัฒนา การแยกบัญชีธนาคารเพื่อรับเงินกองทุนฯสำหรับบริการระดับปฐมภูมิ แยกจากเงินบำรุงโรงพยาบาล

ภาพรวมการปรับปรุงเกณฑ์หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ และหน่วยบริการร่วมให้บริการ

เกณฑ์หน่วยบริการประจำ บทบาท บริหารจัดการระบบ ม 1.1 จัดเครือข่ายหน่วยบริการ ม 1.2 มีหน่วยบริการปฐมภูมิแบบเบ็เดสร็จ PCC ม 1.3.1 PCU 1 : 10,000 ม 1.3.2 การกระจายของ PCU หน่วยบริการประจำ หมวด 1 ศักยภาพเพื่อการเข้าถึง หมวด 2 ประเภทและขอบเขตบริการ หมวด 3 บุคลากร หมวด 4 บริหารจัดการ ม 4.1 คกก.ที่มีส่วนร่วม ม 4.2 แผนยุทธศาสตร์ ม 4.3 การรับฟังความเห็น ม 4.4 ระบบส่งต่อ-รับกลับ ม 4.5 ระบบสนับสนุน ม 4.6 ระบบพัฒนาคุณภาพ ม 4.7 ประสานกับชุมชน ม 2.1 PP ม 2.2 รักษา ม 2.3 ทันตกรรม ม 2.4 เยี่ยมบ้าน ม 2.5 Lab ม 2.6 เภสัชกรรม ม 2.7 กายภาพบำบัด ม 2.8 เวชกรรมไทย ม 3.1 แพทย์ FM ม 3.2 RN/NP ม 3.3 บุคลากรอื่น ม 3.4 ทันตแพทย์ ม 3.5 เภสัชกร ม 3.6 กายภาพบำบัด ม 3.7 แพทย์แผนไทย

เกณฑ์หน่วยบริการปฐมภูมิ ม 1.1 ที่ตั้ง เ ม 1.2 PCU 1 : 10,000 ม 1.3 เวลาเปิดให้บริการ ม 1.4 ติดประกาศเวลาให้บริการ บทบาท ให้บริการ หน่วยบริการ ปฐมภูมิ หมวด 1 ศักยภาพเพื่อการเข้าถึง หมวด 2 ประเภทและขอบเขตบริการ หมวด 3 บุคลากร หมวด 4 บริหารจัดการ หมวด 5 สถานที่ อุปกรณ์ ม 5.1 การจัดสถานที่ทั่วไป ม 5.2 อุปกรณ์งานรักษา-PP ม 5.3 อุปกรณ์ทันตกรระม ม 5.4 อุปกรณ์เภสัชกรรม ม 5.5 อุปกรณ์ Lab ม 5.6 อุปกรณ์กายภาพ ม 5.7 อุปกรณ์เวชกรรมไทย ม 2.1 PP ม 2.2 รักษา ม 2.3 ทันตกรรม ม 2.4 เยี่ยมบ้าน ม 2.5 Lab ม 2.6 เภสัชกรรม ม 2.7 กายภาพบำบัด ม 2.8 เวชกรรมไทย ม 4.1 คกก.ที่มีส่วนร่วม ม 4.2 แผนปฏิบัติงาน ม 4.3 การรับฟังความเห็น ม 4.4 ระบบติดต่อ-ให้การปรึกษา ม 4.5 ระบบข้อมูลสารสนเทศ ม 4.6 ระบบพัฒนาคุณภาพ ม 4.7 ประสานกับชุมชน ม 3.1 แพทย์ FM ม 3.2 RN/NP ม 3.3 บุคลากรอื่น ม 3.4 ทันตแพทย์ ม 3.5 เภสัชกร ม 3.6 กายภาพบำบัด ม 3.7 แพทย์แผนไทย

การกำหนดเกณฑ์คะแนน 3 = ผ่านทำได้เกินเกณฑ์ 2 = ผ่าน (เป็นไปตามเกณฑ์) Max of Min 1 = ผ่านแบบมีเงื่อนไข 0 = ไม่ผ่าน

สิ่งที่เปลี่ยนแปลง

หมวด 1 ศักยภาพการจัดบริการ ให้ประชาชนเข้าถึง หน่วยบริการประจำ ม 1.1 จัดเครือข่ายหน่วยบริการ ม 1.2 มีหน่วยบริการปฐมภูมิแบบเบ็ดเสร็จ PCC ม 1.3.1 PCU 1 : 10,000 ม 1.3.2 การกระจายของ PCU หน่วยบริการปฐมภูมิ ม 1.1 ที่ตั้ง ม 1.2 PCU 1 : 10,000 ม 1.3 เวลาเปิดให้บริการ ม 1.4 ติดประกาศเวลาให้บริการ

หมวด 1 ศักยภาพการจัดบริการ ให้ประชาชนเข้าถึง หน่วยบริการประจำ ม1.1 มีการจัดเครือข่ายบริการปฐมภูมิ และระบบรับส่งต่อเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการ ปรับแนวทางพิจารณา องคประกอบของเครือข่ายหน่วยบริการ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้: วิธีการสื่อสาร การเข้าถึงบริการของประชาชน: OP visit PCU/รพ. ตามเกณฑ์ที่ สปสช.กำหนด ต้องครอบคลุมทั้ง 3 ข้อ และพิจารณาผลงานข้อ 3 ประกอบด้วย

เครือข่ายหน่วยบริการ รับส่งต่อ หน่วยบริการประจำ PCC หน่วย บริการ ร่วมให้ บริการ PC U PC U PC U หน่วยบริการร่วมให้ บริการ PC U

หมวด 1 ศักยภาพการจัดบริการ ให้ประชาชนเข้าถึง หน่วยบริการประจำ ม1.2 มีหน่วยบริการปฐมภูมิแบบเบ็ดเสร็จด้วยตนเอง อย่างน้อย 1 แห่ง ปรับเกณฑ์ เพื่อเพิ่มคุณภาพและให้มีความชัดเจน - มีแพทย์ประจำ ,ผ่านเกณฑ์หน่วยปฐมภูมิ สามารถพัฒนาและขอขึ้น ทะเบียนเป็นหน่วยบริการประจำได้ - จัดโดยหน่วยบริการประจำ (กรณีเป็น รพ. จะต้องจัดบริการปฐมภูมิ แยก จากบริการผป.นอกของ รพ.) - ไปร่วมจัดบริการปฐมภูมิ กับ รพ.สต. หรือหน่วยบริการปฐมภูมิ ใน เครือข่ายได้ - ยืดหยุ่น สำหรับหน่วยบริการประจำ รพ. ที่มีปชก.รับผิดชอบไม่เกิน 10,000 คน

หมวด 1 ศักยภาพการจัดบริการ ให้ประชาชนเข้าถึง หน่วยบริการประจำ ม1.3.1 อัตราส่วน PCU 1 : 10,000 ปรับวิธีการพิจารณา และการให้คะแนน เดิม พิจารณาในภาพรวม โดยใช้วิธีคำนวณจำนวน PCU ที่ควรมี เทียบกับที่มีจริง ใหม่ ใช้วิธีนับจำนวน PCU ที่ดูแลประชากร ไม่เกิน 10,000 คน เทียบกับจำนวนทั้งหมด ม1.3.2 การกระจายของ PCU เดิม พิจารณาจากร้อยละของปชก.ที่เดินทางเข้าถึงภายใน 30 นาที ใหม่ พิจารณาจาก - การมีแผนทีแสดงการเข้าถึงบริการ มีแนวทางการ - จัดบริการเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการภายใน 30 นาที - การจัดระบบ/มีแผนกรณีการเกิดภัยพิบัติ

หมวด 1 ศักยภาพการจัดบริการ ให้ประชาชนเข้าถึง หน่วยบริการปฐมภูมิ ม1.1 ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่สะดวกต้อการเข้ารับบริการ ปรับแนวทางพิจารณา - เพิ่มการมีแผนที่แสดงข้อมูลสำคัญ และการมีแผนจัดบริการสำหรับประชาชนที่เข้าถึงยาก

หมวด 2 จัดบริการตามประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข เพิ่ม “หลักเวชศาสตร์ครอบครัว” หน่วยบริการประจำ ม 2.1 PP ม 2.2 รักษา ม 2.3 ทันตกรรม ม 2.4 เยี่ยมบ้าน ม 2.5 Lab ม 2.6 เภสัชกรรม ม 2.7 กายภาพบำบัด ม 2.8 เวชกรรมไทย ใช้ผลงานบริการ ประกอบการพิจารณา มีกระบวนการคุณภาพ PDCA, CQI หน่วยบริการปฐมภูมิ .

หมวด 2 จัดบริการตามประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข หน่วยบริการประจำ ม2.1 บริการ PP ปรับวิธีการพิจารณาให้มีความชัดเจน และการให้คะแนน แนวทางการพิจารณา: 1. หน่วยบริการประจำ จัดการให้ PCU จัดบริการ - ครอบคลุม Basic PP Service - มีระบบติดตามความต่อเนื่อง - มีและใช้สมุดบันทึกสุขภาพ - มีการทบทวน ประเมินความครอบคลุมบริการของกลุ่มเป้าหมาย 2. รายการ Basic PP Service 3. จัดระบบติดตาม กำกับ ผลการดำเนินงาน ของ PCU การให้คะแนน: พิจารณาผลงานความครอบคลุมบริการในกลุ่มเป้าหมาย หน่วยบริการปฐมภูมิ ม2.1 บริการ PP ปรับวิธีการพิจารณาให้มีความชัดเจน และการให้คะแนน - แนวทางพิจารณาคล้ายกับหน่วยบริการประจำ แต่ PCU ทำหน้าที่ให้บริการ

หมวด 2 จัดบริการตามประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข หน่วยบริการประจำ ม2.3 บริการทันตกรรม เพิ่ม: การชี้ทิศทางการมีคลินิกให้บริการที่มีทันตบุคลากรปฏิบัติงานประจำ (ใน PCU ที่มีปชก.มากกว่า 10,000 คน) พิจารณาผลงานการให้บริการร่วมด้วย หน่วยบริการปฐมภูมิ ม2.3 บริการทันตกรรม เช่นเดียวกับหน่วยบริการประจำ ต่างกันที่บทบาท

หมวด 2 จัดบริการตามประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข หน่วยบริการประจำ ม2.5 Lab เพิ่มคุณภาพ: Lab ที่ทำเอง หรือ ส่งต่อ ต้องมีระบบประกันคุณภาพภายใน /ภายนอก ปรับแนวทางการพิจาณราให้มีความชัดเจน หน่วยบริการปฐมภูมิ ม2.5 Lab ปรับแนวทางการพิจาณราให้มีความชัดเจน

หมวด 2 จัดบริการตามประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข หน่วยบริการประจำ ม2.6 เภสัชกรรม ปรับเกณฑ์/แนวทางการพิจารณาที่มีรายละเอียดความชัดเจน จัดการระบบ: มีคณะ กก. มีการกำหนดกรอบบัญชียาฯ จัดหายาที่เป็นมาตรฐานเดียวกันภายในหน่วยบริการประจำ บริการเภสัชกรรม ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ งานบริหารเวชภัณฑ์ งานบริการเภสัชกรรม งานบริบาลเภสัชกรรม และงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพในชุมชน หน่วยบริการปฐมภูมิ ม2.6 เภสัชกรรม ปรับเกณฑ์/แนวทางการพิจารณาที่มีรายละเอียดความชัดเจน ในบทบาทผู้ให้บริการ

หมวด 2 จัดบริการตามประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข หน่วยบริการประจำ ม2.7 กายภาพบำบัด เป็นเกณฑ์ที่เพิ่มเข้ามาใหม่ เป็นบริการ ที่จัดในภาพรวมของหน่วยบริการประจำ โดยมีอยู่ใน PCU ใด PCU หนึ่ง แนวทางพิจารณา: ตรวจประเมินวินิจฉัย วางแผนดูแล/กำหนดกลุ่มเป้าหมาย ดูแลรักษา/ส่งเสริม/ป้องกัน/ฟื้นฟู มีระบบส่งต่อ-รับกลับ ทำงานรวมกับชุมชน จัดบริการโดยชุมชน CBR ใช้ผลการดำเนินงาน ประกอบการพิจารณาด้วย

หมวด 2 จัดบริการตามประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข หน่วยบริการประจำ ม2.8 เวชกรรมไทย เป็นเกณฑ์ที่เพิ่มเข้ามาใหม่ ประกอบด้วย เภสัชกรรมไทย : การใช้สมุนไพร นวดไทย ผดุงครรภ์ไทย การให้คะแนน โดยการนับ PCU ที่จัดบริการ อย่างน้อยต้องมีบริการ 1,2 หน่วยบริการปฐมภูมิ ม2.8 เวชกรรมไทย ปรับเกณฑ์/แนวทางการพิจารณาที่มีรายละเอียดความชัดเจน ในบทบาทผู้ให้บริการ

ม 3.1 แพทย์/FM ม 3.2 RN/NP ม 3.3 บุคลากรอื่น ม 3.4 ทันตแพทย์ หมวด 3 บุคลากร สิ่งที่เปลี่ยนแปลง ปรับเชิงปริมาณ ให้ สอดคล้องกับ สถานการณ์, Service Plan เพิ่มคุณภาพ สมรรถนะFM ใช้ผลงานการ ให้บริการ ประกอบการพิจารณา การให้คะแนนหน่วย บริการประจำ อิงผล การผ่านเกณฑ์ของ PCU หน่วยบริการประจำ ม 3.1 แพทย์/FM ม 3.2 RN/NP ม 3.3 บุคลากรอื่น ม 3.4 ทันตแพทย์ ม 3.5 เภสัชกรรม ม 3.6 กายภาพบำบัด ม 3.7 เวชกรรมไทย หน่วยบริการปฐมภูมิ .

แพทย์ /FM 1:10,000 โดยเป็น FM 1 คนต่อ 1 หน่วยบริการประจำ หมวด 3 บุคลากร แพทย์ /FM 1:10,000 โดยเป็น FM 1 คนต่อ 1 หน่วยบริการประจำ ทันตแพทย์ 3 ชั่วโมงต่อ 1000 ต่อ สัปดาห์ เภสัชกร 1:10,000 นักกายภาพบำบัด 1:10,000 เผลงานบริการ เภสัชฯปฐมภูมิ FM 200 visit 10,000 3 /100 visit 10,000 10,000 30,000 1 30,000 30,000 แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร นักกายภาพบำบัด (ชั่วโมง./1000/สป.)

RN/NP 1:5,000 โดยเป็น NP อย่างน้อย 1 คนต่อ 1 PCU หมวด 3 บุคลากร RN/NP 1:5,000 โดยเป็น NP อย่างน้อย 1 คนต่อ 1 PCU บุคลากรอื่น สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ 1:1,250 โดยเป็น ป.ตรีอย่างน้อย 50 % แพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยอย่างน้อย 1 คน / 1 หน่วยบริการประจำ บุคลากรพิจารณาตามบริการเวชกรรมไทยที่จัด ป.ตรี>50% TM ป.ตรี NP2,500 5,000/1NP TM 1,250 10,000 2,500 ผช.แผนไทย พยาบาล บุคลากรอื่น แพทย์แผนไทย

หมวด 4 บริหารจัดการ ม 4.1 มีคณะกรรมการที่มีส่วนร่วม ม 4.2 มีแผนยุทธศาสตร์ ม 4.3 การรับฟังความเห็น ม 4.4 ระบบส่งต่อ-รับกลับ ม 4.5 ระบบสนับสนุน ม 4.6 ระบบพัฒนาคุณภาพ ม 4.7 ประสานกับชุมชน หน่วยบริการประจำ ม 4.1 มีคณะกรรมการที่มีส่วนร่วม ม 4.2 มีแผนปฏิบัติงาน ม 4.3 การรับฟังความเห็น ม 4.4 ระบบติดต่อ-ให้การปรึกษา ม 4.5 ระบบข้อมูลสารสนเทศ ม 4.6 ระบบพัฒนาคุณภาพ ม 4.7 ประสานกับชุมชน หน่วยบริการปฐมภูมิ

หมวด 4 บริหารจัดการ ม 4.4 ระบบส่งต่อ-ส่งกลับ ม 4.4.1 ระบบส่งต่อ-ส่งกลับ ภายใน-ภายนอก ม 4.4.2 ระยะเวลา จาก PC – Hospital ม 4.4.3 ยานพาหนะ ม 4.4.4 อำนวยความสะดวก ส่งต่อ กลุ่ม sub acute ม 4.4.5 ส่งต่อ Lab ม 4.4.6 ส่งต่อทันตกรรม ม 4.4.7 ข้อมูลการส่งต่อ หน่วยบริการประจำ ม 4.4 ระบบส่งต่อ-ส่งกลับ

หมวด 4 บริหารจัดการ ม 4.5 ระบบสนับสนุน ม 4.5.1 บุคลากร (HRM) ม 4.5.2 บุคลากร (HRD) ม 4.5.3 สถานที่ ยา วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ม 4.5.4 ระบบติดต่อสื่อสาร/ให้การปรึกษา ม 4.5.5 ระบบข้อมูลสารสนเทศเชื่อมโยงในเครือข่าย หน่วยบริการประจำ ม 4.5 ระบบสนับสนุน ม 5 สถานที่ ยา วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ม 4.4 ระบบติดต่อสื่อสาร/ให้การปรึกษา ม 4.5 ระบบข้อมูลสารสนเทศเชื่อมโยงในเครือข่าย หน่วยบริการปฐมภูมิ

หมวด 4 บริหารจัดการ ม 4.6.1 ระบบบริหารจัดการคุณภาพ ม 4.6.2 CPG ม 4.6.3 การจัดการความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ม 4.6.4 ระบบป้องกันการติดเชื้อในสถานพยาบาล ม 4.6.5 การพัฒนาวิชาการ วิจัย นวตกรรม หน่วยบริการประจำ ม 4.6 ระบบพัฒนาคุณภาพ ม 4.6.1 ระบบบริหารจัดการคุณภาพ ม 4.6.2 CPG ม 4.6.3 การจัดการความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ม 4.6.4 ระบบป้องกันการติดเชื้อในสถานพยาบาล ม 4.6.5 การพัฒนาวิชาการ วิจัย นวตกรรม หน่วยบริการปฐมภูมิ ม 4.6 ระบบพัฒนาคุณภาพ

กำหนดข้อเกณฑ์ที่เป็น 0 ไม่ได้ หน่วยบริการประจำ: ม1.1 ,ม1.2 , (ทั้งหมด 40 ข้อ) ม2 , ม3 , ม 4.4.1, ม4.5.3 - ม4.5.5, ม4.6.2 - ม4.6.4 รวม 24 ข้อ (ร้อยละ 60.0) หน่วยบริการปฐมภูมิ: ม1.1 ,ม1.3 , (ทั้งหมด 37 ข้อ) ม2 , ม3 , ม 4.4.1, ม4.5 - ม4.5.5, ม4.6.2 - ม4.6.4 รวม 24 ข้อ (ร้อยละ 64.9)

ผลการประเมิน ผลการพิจารณา แนวทางการสรุปผลการตรวจประเมินหน่วยบริการประจำ ผลการประเมิน ผลการพิจารณา ไม่ผ่าน มีคะแนน 0 ในเกณฑ์ที่กำหนด หรือ มีข้อที่มีคะแนน 0 มากกว่าร้อยละ 40 หน่วยบริการมีคุณลักษณะต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งอาจส่งผลต่อคุณภาพบริการ ผ่าน กลุ่มที่ 1 ข้อที่มีคะแนน 1 บางข้อ หรือมีคะแนน 0 น้อยกว่า ร้อยละ 40 และไม่มีคะแนน 0 ในเกณฑ์ที่กำหนด หน่วยบริการมีคุณลักษณะไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์ โดยส่วนขาดสามารถพัฒนา/แก้ไขได้ในระยะเวลาที่กำหนด กลุ่มที่ 2 ทุกข้อมีคะแนน 2 หน่วยบริการมีคุณลักษณะเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด กลุ่มที่ 3 มีคะแนน 3 บางข้อ และ ข้ออื่นๆ เป็น 2 ทุกข้อ หน่วยบริการมีคุณลักษณะครบถ้วน และมีบางส่วนสูงกว่ามาตรฐานที่กำหนด

ผลการประเมิน ผลการพิจารณา แนวทางการสรุปผลการตรวจประเมินหน่วยบริการปฐมภูมิ ผลการประเมิน ผลการพิจารณา ไม่ผ่าน มีคะแนน 0 ในเกณฑ์ที่กำหนด หรือ มีข้อที่มีคะแนน 0 มากกว่าร้อยละ 35.1 หน่วยบริการมีคุณลักษณะต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งอาจส่งผลต่อคุณภาพบริการ ผ่าน กลุ่มที่ 1 ข้อที่มีคะแนน 1 บางข้อ หรือมีคะแนน 0 น้อยกว่า ร้อยละ 35.1 และไม่มีคะแนน 0 ในเกณฑ์ที่กำหนด หน่วยบริการมีคุณลักษณะไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์ โดยส่วนขาดสามารถพัฒนา/แก้ไขได้ในระยะเวลาที่กำหนด กลุ่มที่ 2 ทุกข้อมีคะแนน 2 หน่วยบริการมีคุณลักษณะเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด กลุ่มที่ 3 มีคะแนน 3 บางข้อ และ ข้ออื่นๆ เป็น 2 ทุกข้อ หน่วยบริการมีคุณลักษณะครบถ้วน และมีบางส่วนสูงกว่ามาตรฐานที่กำหนด

เกณฑ์หน่วยบริการร่วมให้บริการ เวชกรรม ทันตกรรม เภสัชกรรม (ร้านยาคุณภาพ) กายภาพบำบัด เทคนิคการแพทย์ เวชกรรมไทย อื่นๆ เช่น VCT clinic, Day care (LTC),CKD clinic , DOTฯลฯ

เกณฑ์หน่วยบริการร่วมให้บริการ จังหวัดเดียวกัน/รอยต่อ ปชช.เดินทางเข้าถึงสะดวก บทบาท ให้บริการ หน่วยบริการร่วมให้บริการ สถานที่ตั้ง ระบบข้อมูลสารสนเทศ เวลาให้บริการ บริการที่จัด บุคลากร อุปกรณ์ เครื่องมือ มีระบบบันทึกข้อมูล เชื่อมโยง กับหน่วยบริการประจำ และสำนักงาน รายงาน สปสช. เป็นไปตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง เช่น สถานพยาบาล ร้านยาคุณภาพ ติดประกาศให้ ปชช. เห็นได้ชัดเจน ผู้ประกอบวิชาชีพ/ผู้ประกอบโรคศิลป์ สอดคล้องกับบริการที่จัด อย่างน้อย 1 คน และพิจารณาตามภาระงาน เป็นไปตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง เช่น สถานพยาบาล ร้านยาคุณภาพ