โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รองประธานราชวิทยาลัยฯฝ่ายบริหาร นายแพทย์สุกิจ แสงนิพันธ์กูล
Advertisements

ข้อมูล แหล่งทุนการศึกษา.
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
KM การจัดการความรู้ผู้เกษียณ
พัชราภรณ์ ปันแก้ว นันทา เติมสมบัติถาวร มินตรา ไชยชนะ
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
ธนพร มหากิตติคุณ สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ NECTEC
สรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงาน
นางสาววราภรณ์ สุภเกษมวงศ์
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารงานของห้องสมุด
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ แนวคิดเกี่ยวกับขอบเขตและประเภทของแหล่งสารสนเทศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด

โต้วาทีน้องใหม่ ชิงโล่อธิการบดี
น.ส. อาภรณ์ ไชยสุวรรณ น.ส.บุญเพ็ญ ชูทอง น.ส.จริยา รัตนพันธุ์
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
การใช้คลิปวีดิทัศน์ในการจัดการความรู้ ในงานห้องสมุด : กรณีศึกษา มทรอ.
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
ภาคีร่วมมือ e-book เครือข่ายห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (PULINET)
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
Introduction to Computer and Life
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Patron Info Application
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
WEB OPAC.
ศูนย์สารนิเทศอีสานสิรินธร
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
รายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับใบขอซื้อขอจ้าง
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
สรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงาน
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
โครงการ สร้างสรรค์ภูมิ ปัญญา พัฒนาสุขภาพจิต ผู้สูงวัย ปี 2.
สรุปผลงานความร่วมมือระหว่างห้องสมุด
การสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (3)
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
งานเพื่อเสริมศักยภาพทาง วิชาการของ นักศึกษาวิชาเอก บรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ สำหรับวิชา : ความรู้เบื้องต้นทาง บรรณารักษศาสตร์ รองศาสตราจารย์ปัญญา.
สื่อความรู้เบื้องต้นทาง บรรณารักษศาสตร์ ( 4 ). การดำเนินงานภายใน ห้องสมุด ห้องส มุด จะให้บริการได้ดีสมบูรณ์ ต้อง ประกอบด้วย องค์ประกอบต่อไปนี้ วัสดุห้องสมุด.
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประชุมการจัดทำกรอบอัตรากำลังของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (สายสนับสนุน) วันที่ 3-4.
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
การบริหารงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงบประมาณ
การค้นคว้าข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
..เทคโนโลยีการใช้RFIDกับงานในห้องสมุด
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
โดย สุกาญจนา ทิพยเนตร 1. สร้างสรรค์นวัตกรรมทางเทคโนโลยี สารสนเทศที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพสูงที่ นำมาสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้ 2. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เชี่ยวชาญ.
ประวัติส่วนตัว.
Nanotechnology Cluster ภาคใต้ 1 โครงการพัฒนา นักวิจัยไทย ด้านวิทยาศาสตร์ เคมี และเภสัช ภาคใต้ ระยะที่ 2 แผน 5 ปี ( )
มาตรฐานการจัดเก็บ การ ค้นคืน การแลกเปลี่ยนและการ เชื่อมโยงเครือข่าย สมพงษ์ เจริญศิริ สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ (KMUTT- LM)
โดย นายเฉลิมศักดิ์ ชุปวา 7 ตุลาคม 2552
และเราจะเดินไปพร้อมกัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ Walai Autolib โดย น.ส.สุกัญญา ประทุม นิสิตปริญญาโทสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา รุ่น 11

WALAI AutoLib เป็นโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติที่ออกแบบและพัฒนาโดยทีมงาน สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดยได้รับเงินสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) โดยเริ่มพัฒนาในปี 2548 แนวคิดในการออกแบบระบบ ใช้แนวคิดของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ และระบบสารสนเทศสำหรับห้องสมุด ออกแบบในลักษณะของระบบบูรณาการ ช่วยในงานบริหารจัดการห้องสมุดและศูนย์บริการสารสนเทศอย่างต่อเนื่องครบวงจร

คุณสมบัติทั่วไป ได้รับการออกแบบบนมาตรฐานการดำเนินงานของห้องสมุด ใช้ Oracle เป็นระบบจัดการฐานข้อมูล รองรับมาตรฐาน MARC21 และโปรโตคอล Z39.50

WALAI AutoLib: ข้อเด่นจากระบบแต่ละระบบมารวมกัน

ระบบการทำงาน การใช้งานมี 2 รูปแบบคือ Front–office สำหรับสมาชิก (Web-based application) Back-office สำหรับบรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด (Non web-based application)

ประกอบด้วย 6 โมดูล ระบบนี้ประกอบด้วยระบบย่อย 6 ระบบ คือ 1) ระบบบริหารจัดการ (Policy management module) 2) ระบบการทำรายการ (Cataloging module) 3) ระบบการบริการยืม-คืน (Circulation module) 4) ระบบการสืบค้นและบริการสมาชิก (OPAC and utility module) 5) ระบบควบคุมสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serials control module) 6) ระบบการจัดซื้อจัดหา (Acquisition module)

ค่าใช้จ่ายในการใช้โปรแกรม แบบที่ 1 Free package ห้องสมุดสามารถขอรับโปรแกรมและคู่มือการใช้งานจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) โดยไม่มีค่าใช้จ่าย แบบที่ 2 Bronze package มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เป็นผู้ติดตั้งระบบและฝึกอบรมให้กับห้องสมุดหรือสถาบันแต่ไม่มีการบำรุงรักษาระบบประจำปี เป็นเงิน 120,000 บาท

ค่าใช้จ่ายในการใช้โปรแกรม (ต่อ) แบบที่ 3 Silver package มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เป็นผู้ติดตั้งระบบและฝึกอบรมให้กับห้องสมุดหรือสถาบัน มีการบำรุงรักษาตลอดปีแบบ Remote Access เป็นเงิน220,000 บาท แบบที่ 4 Gold package มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เป็นผู้ติดตั้งระบบและฝึกอบรมให้กับห้องสมุด มีการบำรุงรักษาตลอดปีแบบ Remote Access และบำรุงรักษาระบบ ณ ไซต์งาน 2 งวดงานต่อปี = 320,000 บาท

- ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นครศรีธรรมราช รายนามห้องสมุดที่ดำเนินการติดตั้งไปแล้ว (ข้อมูลถึงวันที่ 1 เมษายน 2552) ห้องสมุดมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ทั้ง 3 แห่ง -         ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นครศรีธรรมราช -         ศูนย์วิทยบริการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี -         ศูนย์วิทยบริการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ วิทยาเขตกรุงเทพมหานคร ห้องสมุดสถาบันนำร่องของ สกอ. -         ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร องค์การมหาชน -         มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พระนคร -         มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ -         มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ -         มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ -         มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ -         มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยอื่น ๆ -         มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา ห้องสมุดเฉพาะ -         ห้องสมุดการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค -         ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) ** ยังไม่ได้ใช้ มีปัญหาเรื่องการถ่ายโอนข้อมูล -         ห้องสมุดสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (อยู่ระหว่างการประสานงาน)

ที่มา http://walaiautolib.uni.net.th/Helpdesk/Code/index.aspx สืบค้นเมื่อ 3 ก.ย.2552 http://abihara.wordpress.com/2009 สืบค้นเมื่อ 3 ก.ย.2552

ขอบคุณ และสวัสดีคะ