ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
Advertisements

ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
พรชัย กิจเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
รายงานการวิจัย เรื่อง
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี วิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน(STAD)ในวิชา 2000-1525 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 7 ของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ สายช่างอุตสาหกรรม ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา

ปัญหาการวิจัย จากการที่ครูผู้สอนได้ถ่ายทอดความรู้ให้นักเรียนในชั้น หลังจาการสอนครูผู้สอนได้ประเมินผล โดยการมอบหมายให้ทำแบบฝึกหัด และแบบทดสอบ พบว่านักเรียนบางคนไม่สามารถทำแบบฝึกหัดและทำข้อสอบได้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งปัญหาดังกล่าวนั้นเกิดจากที่นักเรียนบางคนเรียนรู้ได้ช้า และมีความสามารถในการเรียนรู้ไม่เท่ากัน ผู้วิจัยจึงได้หาวิธีการที่จะจูงใจให้นักเรียนมีความสนใจ และกระตุ้นให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นมากขึ้น กิจกรรมการเรียนการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนนั้น เป็นวิธีการที่ช่วยสนับสนุนวิธีการดังกล่าวได้ทางหนึ่ง โดยให้เพื่อนมีบทบาทสำคัญในการเรียน เพื่อนและกลุ่มมีอิทธิพลในการสร้างความสนใจ จูงใจและมีการยอมรับของเพื่อนด้วยกัน ซึ่งการเรียนการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน (STAD)

วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน (STAD) ในวิชา 2000 – 1525 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 7 ของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพสายช่างอุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา

กรอบแนวคิด จากการศึกษาหลักการ แนวคิด และประโยชน์ของการเรียนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน ( STAD )ของจอนห์น ดิวอี้ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยจึงกำหนดเป็นกรอบแนวคิดการวิจัยได้ดังนี้

ผลการวิจัย ตารางที่ 1 แสดงระดับคะแนนในเรื่องจำนวนเชิงซ้อน ก่อนและหลังการเรียนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน (STAD)ในวิชา 2000 – 1525 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 7 ของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพสายช่างอุตสาหกรรม จำนวน 130 คน

ผลการวิจัย ตารางที่ 2 แสดงเปรียบเทียบผลการสอบวัดผลก่อนและหลังการเรียนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน (STAD) ในวิชา 2000 – 1525 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 7 ของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพสายช่างอุตสาหกรรม จำนวน 130 คน

สรุปผลวิจัย สรุปว่านักเรียนที่เรียนด้วยการเรียนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน (STAD) เรื่องจำนวนเชิงซ้อนแล้ว มีความรู้สูงขึ้นจริงเป็นไปตามสมมติฐานว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา 2000-1525 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 7 ของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพสายช่างอุตสาหกรรม หลังเรียนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน (STAD) สูงกว่าก่อนเรียนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน (STAD) และนักเรียนที่เรียนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนผ่านเกณฑ์ 60% จำนวน 127 คน จากจำนวนผู้เข้าสอบ 130 คน คิดเป็นร้อยละ 97.69 ตามแนวคิดทฤษฏีของจอนห์น ดิวอี้ และงานวิจัยที่ได้ศึกษามา กิจกรรมกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนทำให้เกิดบรรยากาศที่ดี ช่วยให้นักเรียนมีความกระตือรือร้น สนใจ ตั้งใจและมีความรับผิดชอบมากขึ้น ช่วยสร้างสามัคคี รู้จักแก้ปัญหาร่วมกัน

ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ ครูผู้สอนจะต้องคอยติดตามดูแล การปฏิบัติงานกลุ่มอย่างต่อเนื่อง ควรหาหัวหน้ากลุ่มที่เก่ง และมีคุณภาพจริงๆ ครูผู้สอนจะต้องคอยให้แรงเสริมแก่นักเรียนอย่างต่อเนื่อง ครูผู้สอนควรแจ้งผลการประเมินทุกครั้งเพื่อกลุ่มจะได้ปรับปรุงและพัฒนาตัวเองในจุดที่ยังด้อยอยู่

ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งต่อไป ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน (STAD) กับการเรียนแบบอื่นๆ เช่น e-learning ควรทำแบบสำรวจความพึงพอใจผู้เรียนต่อการแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน ( STAD)