กำหนดการแข่งขัน กำหนดการ รายละเอียด 15 พฤษภาคม 2552 ประชุมหารือระหว่าง สอศ. และอีซูซุ 25 พฤษภาคม 2552 ประชุมกำหนดกติกาและแผนการดำเนินงานร่วมระหว่าง สอศ. และอีซูซุ 18 มิถุนายน 2552 แจ้งสถานศึกษา 155 แห่ง (และทุกสถานศึกษาที่มีสาขาช่างยนต์) ให้ทราบกติกาและรายละเอียดการแข่งขันรอบคัดเลือกและรอบชิงชนะเลิศ ภายใน 26 มิถุนายน 2552 สถานศึกษาทั่วประเทศส่งใบสมัครแจ้งความจำนงเข้าร่วมแข่งขัน 18 มิถุนายน – 19 กรกฎาคม 2552 ช่วงเวลาที่สถานศึกษาเตรียมตัวฝึกนักศึกษาและแข่งขันภายในสถานศึกษาเพื่อคัดเลือกนักศึกษา ภายใน 20 กรกฎาคม 2252 สถานศึกษาแจ้งรายชื่อนักศึกษาผู้เข้าแข่งขันพร้อมอาจารย์ (โค้ช) 31 กรกฎาคม – 12 กันยายน 2552 การแข่งขันรอบคัดเลือก (ระดับภาค) 15 กันยายน 2552 ประกาศผลการแข่งขันรอบคัดเลือก และแจ้งกำหนดการ การแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ 21 กันยายน - 22 กันยายน 2552
รายละเอียดการแข่งขัน 1. การแข่งขันเป็นแบบประเภททีม ทีมละ 2 คน นักศึกษา (ผู้แข่งขัน) 1 คน อาจารย์ (ทำหน้าที่โค้ช) 1 คน 2. การแข่งขันแบ่งเป็น 2 ระดับ คือ ปวช. ปวส. 3. การแข่งขันแบ่งเป็น รอบคัดเลือก ภาคทฤษฎี (จำนวน 100 ข้อ), ภาคปฏิบัติ (จำนวน 4 สถานี) รอบชิงชนะเลิศ ภาคทฤษฎี (จำนวน 100 ข้อ), ภาคปฏิบัติ (จำนวน 5 สถานี)
รายละเอียดการแข่งขัน 4. การแข่งขันรอบคัดเลือกระดับภาค จะแบ่งออกเป็น 5 ภาค 9 กลุ่ม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (3 กลุ่ม) ภาคเหนือ (2 กลุ่ม) ภาคใต้ (2 กลุ่ม) ภาคกลาง (1 กลุ่ม) ภาคตะวันออก (1 กลุ่ม) โดยแต่ละภาคจะมีการแบ่งเป็นกลุ่มและจะจัดการแข่งขันเฉพาะภายในกลุ่ม ซึ่งการแบ่งกลุ่มจะแบ่งตามปริมาณของสถานศึกษาของแต่ละภาค
รายละเอียดการแข่งขัน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สถานศึกษา____แห่ง 3 กลุ่ม - กลุ่มที่ 1 จัดการแข่งขันที่____________จำนวนทีมแข่งขัน ระดับ ปวช._____ทีม วันที่ 11-12 กันยายน 2552 ระดับ ปวส._____ทีม - กลุ่มที่ 2 จัดการแข่งขันที่____________จำนวนทีมแข่งขัน ระดับ ปวช._____ทีม วันที่ 7-8 สิงหาคม 2552 ระดับ ปวส._____ทีม - กลุ่มที่ 3 จัดการแข่งขันที่____________จำนวนทีมแข่งขัน ระดับ ปวช._____ทีม วันที่ 14-15 สิงหาคม 2552 ระดับ ปวส._____ทีม วท.อุดรธานี วท.ศรีสะเกษ วก.มุกดาหาร
รายละเอียดการแข่งขัน ภาคเหนือ สถานศึกษา____แห่ง 2 กลุ่ม - กลุ่มที่ 1 จัดการแข่งขันที่____________จำนวนทีมแข่งขัน ระดับ ปวช._____ทีม วันที่ 4-5 กันยายน 2552 ระดับ ปวส._____ทีม - กลุ่มที่ 2 จัดการแข่งขันที่____________จำนวนทีมแข่งขัน ระดับ ปวช._____ทีม วันที่ 8-9 กันยายน 2552 ระดับ ปวส._____ทีม วท.เชียงใหม่ วท.เพชรบูรณ์
รายละเอียดการแข่งขัน ภาคใต้ สถานศึกษา____แห่ง 2 กลุ่ม - กลุ่มที่ 1 จัดการแข่งขันที่______________จำนวนทีมแข่งขัน ระดับ ปวช._____ทีม วันที่ 28-29 สิงหาคม 2552 ระดับ ปวส._____ทีม - กลุ่มที่ 2 จัดการแข่งขันที่______________จำนวนทีมแข่งขัน ระดับ ปวช._____ทีม วันที่ 21-22 สิงหาคม 2552 ระดับ ปวส._____ทีม วท.สุราษฎร์ธานี วท.หาดใหญ่
รายละเอียดการแข่งขัน ภาคกลาง สถานศึกษา____แห่ง 1 กลุ่ม - กลุ่มที่ 1 จัดการแข่งขันที่____________จำนวนทีมแข่งขัน ระดับ ปวช._____ทีม วันที่ 31 สิงหาคม-1 กันยายน 2552 ระดับ ปวส._____ทีม วท.อ่างทอง
รายละเอียดการแข่งขัน ภาคตะวันออก สถานศึกษา____แห่ง 1 กลุ่ม - กลุ่มที่ 1 จัดการแข่งขันที่___________จำนวนทีมแข่งขัน ระดับ ปวช._____ทีม วันที่ 31 กรกฎาคม-1 สิงหาคม 2552 ระดับ ปวส._____ทีม วท.ชลบุรี
ขั้นตอนการแข่งขัน
การแข่งขันรอบชิงชนะเลิศที่กรุงเทพฯ ผู้เข้าแข่งประเภททีมทั้งหมดจากทั่วประเทศอย่างน้อย 155 สถานศึกษา 20-24 ก.ค. 2552 *จำนวนทีมเข้าแข่งขันไม่เกิน 32 ทีม / ระดับ / กลุ่ม 31 ก.ค.- 12 ก.ย. 2552 การแข่งขันรอบคัดเลือก* ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 กลุ่ม ภาคเหนือ 2 กลุ่ม ภาคใต้ 2 กล่ม ภาคกลาง 1 กลุ่ม ภาคตะวันออก 1 กลุ่ม การแข่งขันระดับ ปวช. การแข่งขันระดับ ปวส. ทฤษฎี ปฏิบัติ ทฤษฎี ปฏิบัติ ประกาศผลรอบคัดเลือก 15 กันยายน 2552 คัดเลือกทีมที่ได้คะแนนสูงสุดของแต่ละกลุ่ม ทั้ง 9 กลุ่ม = 9 ทีม และทีมที่ได้คะแนนสูงสุด อันดับที่ 1-9 จากทีมเข้าแข่งขันที่เหลือทั้งหมด = 9 ทีม 9+9 = 18 ทีม 9+9 = 18 ทีม การแข่งขันรอบชิงชนะเลิศที่กรุงเทพฯ 36 ทีม (ปวช. 18+ปวส. 18) 21-22 กันยายน 2552 รางวัลรอบชิงชนะเลิศ : ชนะเลิศ, รองชนะเลิศอันดับ 1, 2, รางวัลชนะเลิศระดับภาค (แยกระดับ ปวช., ปวส.)
รายละเอียดรางวัล 1. รางวัลชนะเลิศ สำหรับผู้เข้าแข่งขัน เงินรางวัล 50,000 บาท พร้อมโล่เกียรติยศ สำหรับสถาบัน เงินรางวัล 30,000 บาท พร้อมโล่เกียรติยศ 2. รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 สำหรับผู้เข้าแข่งขัน เงินรางวัล 30,000 บาท พร้อมโล่เกียรติยศ สำหรับสถาบัน 3. รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 สำหรับผู้เข้าแข่งขัน เงินรางวัล 20,000 บาท พร้อมโล่เกียรติยศ สำหรับสถาบัน เงินรางวัล 30,000 บาท พร้อมโล่เกียรติยศ
รายละเอียดรางวัล 4. รางวัลสำหรับทีมที่ได้ที่ 1 ของภาคในการแข่งขันรอบคัดเลือก สำหรับผู้เข้าแข่งขัน เงินรางวัล 10,000 บาท พร้อมโล่เกียรติยศ สำหรับสถาบัน
การแข่งขันระดับ ปวช.
การแข่งขันรอบคัดเลือก ระดับ ปวช. สถานที่แข่งขัน : สถานศึกษาซึ่งเป็นตัวแทนจากกลุ่มการศึกษาทั้งหมด 9 กลุ่ม คณะกรรมการ : คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจาก อาชีวศึกษาและอีซูซุ ภาคทฤษฎี : แข่งขันเฉพาะนักศึกษา ข้อสอบภาคทฤษฎี : ข้อสอบเป็นแบบปรนัย จำนวน 100 ข้อ ใช้เวลาในการแข่งขัน 60 นาที ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์รถยนต์ ผลิตภัณฑ์น้ำมันเชื้อเพลิงและสารหล่อลื่น เครื่องมือวัดและเครื่องมือทดสอบ ความปลอดภัยในการทำงาน ระบบเครื่องยนต์ ระบบส่งกำลัง ระบบรองรับน้ำหนัก ระบบบังคับเลี้ยว ระบบเบรก ระบบไฟฟ้ารถยนต์
การแข่งขันรอบคัดเลือก ระดับ ปวช. ภาคปฏิบัติ การแข่งขันภาคปฏิบัติ : แบ่งเป็นสถานี จำนวน 4 สถานี เวลาที่ใช้ในการแข่งขัน สถานีละ 15 นาที สถานีปรับตั้งวาล์ว เครื่องยนต์ดีเซลคอมมอนเรล สถานีตรวจเช็คสภาพทั่วไปของรถยนต์ * อาจารย์แข่งขันร่วมกับนักศึกษา สถานีอธิบายโครงสร้าง หน้าที่และการทำงานของอุปกรณ์หลักในระบบคอมมอนเรล สถานีการต่อพ่วงแบตเตอรี่
การแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ระดับ ปวช. สถานที่แข่งขัน : สถาบันฝึกอบรมตรีเพชรอีซูซุ บ.ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ จก. คณะกรรมการ : คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจาก อาชีวศึกษาและอีซูซุ ภาคทฤษฎี : แข่งขันเฉพาะนักศึกษา ข้อสอบภาคทฤษฎี : ข้อสอบเป็นแบบปรนัย จำนวน 100 ข้อ ใช้เวลาในการแข่งขัน 60 นาที ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์รถยนต์ ผลิตภัณฑ์น้ำมันเชื้อเพลิงและสารหล่อลื่น การใช้และการบำรุงรักษารถยนต์ เครื่องมือวัดและเครื่องมือทดสอบ ความปลอดภัยในการทำงาน ระบบเครื่องยนต์ ระบบส่งกำลัง ระบบรองรับน้ำหนัก ระบบบังคับเลี้ยว ระบบเบรก ระบบไฟฟ้ารถยนต์
การแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ระดับ ปวช. ภาคปฏิบัติ การแข่งขันภาคปฏิบัติ : แบ่งเป็นสถานี จำนวน 4 สถานี เวลาที่ใช้ในการแข่งขัน สถานีละ 15 นาที สถานีการตรวจสอบหัวเผา เครื่องยนต์ดีเซลคอมมอนเรล สถานีตรวจเช็คสภาพทั่วไปของรถยนต์ * อาจารย์แข่งขันร่วมกับนักศึกษา สถานีสถานีตรวจวัดอุปกรณ์ไฟฟ้ารถยนต์ สถานีถอด-ประกอบดรัมเบรก สถานีการขันโบลต์ฝาสูบ เครื่องยนต์ดีเซลคอมมอนเรล
การแข่งขันระดับ ปวส.
การแข่งขันรอบคัดเลือก ระดับ ปวส. สถานที่แข่งขัน : สถานศึกษาซึ่งเป็นตัวแทนจากกลุ่มการศึกษาทั้งหมด 9 กลุ่ม คณะกรรมการ : คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจาก อาชีวศึกษาและอีซูซุ ภาคทฤษฎี : แข่งขันเฉพาะนักศึกษา ข้อสอบภาคทฤษฎี : ข้อสอบเป็นแบบปรนัย จำนวน 100 ข้อ ใช้เวลาในการแข่งขัน 60 นาที ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์รถยนต์ ผลิตภัณฑ์น้ำมันเชื้อเพลิงและสารหล่อลื่น เครื่องมือวัดและเครื่องมือทดสอบ ความปลอดภัยในการทำงาน ระบบเครื่องยนต์ ระบบส่งกำลัง ระบบรองรับน้ำหนัก ระบบบังคับเลี้ยว ระบบเบรก ระบบไฟฟ้ารถยนต์
การแข่งขันรอบคัดเลือก ระดับ ปวส. ภาคปฏิบัติ การแข่งขันภาคปฏิบัติ : แบ่งเป็นสถานี จำนวน 4 สถานี เวลาที่ใช้ในการแข่งขัน สถานีละ 15 นาที สถานีติดตั้งชุดไทมิ่ง เครื่องยนต์ดีเซลคอมมอนเรล สถานีตรวจเช็คสภาพทั่วไปของรถยนต์ * อาจารย์แข่งขันร่วมกับนักศึกษา สถานีการใช้เครื่องมือวัดชิ้นส่วนเครื่องยนต์ สถานีตรวจวัดอุปกรณ์ไฟฟ้ารถยนต์
การแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ระดับ ปวส. สถานที่แข่งขัน : สถาบันฝึกอบรมตรีเพชรอีซูซุ บ.ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ จก. คณะกรรมการ : คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจาก อาชีวศึกษาและอีซูซุ ภาคทฤษฎี : แข่งขันเฉพาะนักศึกษา ข้อสอบภาคทฤษฎี : ข้อสอบเป็นแบบปรนัย จำนวน 100 ข้อ ใช้เวลาในการแข่งขัน 60 นาที ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์รถยนต์ ผลิตภัณฑ์น้ำมันเชื้อเพลิงและสารหล่อลื่น การใช้และการบำรุงรักษารถยนต์ เครื่องมือวัดและเครื่องมือทดสอบ ความปลอดภัยในการทำงาน ระบบเครื่องยนต์ ระบบส่งกำลัง ระบบรองรับน้ำหนัก ระบบบังคับเลี้ยว ระบบเบรก ระบบไฟฟ้ารถยนต์
การแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ระดับ ปวส. ภาคปฏิบัติ การแข่งขันภาคปฏิบัติ : แบ่งเป็นสถานี จำนวน 4 สถานี ใช้เวลาในการแข่งขัน สถานีละ 15 นาที สถานีติดตั้งเพลาลูกเบี้ยว เครื่องยนต์ดีเซลคอมมอนเรล สถานีตรวจเช็คสภาพทั่วไปของรถยนต์ * อาจารย์แข่งขันร่วมกับนักศึกษา สถานีติดตั้งหัวฉีดเครื่องยนต์ดีเซลคอมมอนเรล สถานีการวัดระยะห่างกระบอกสูบและลูกสูบ สถานีโอเวอร์ฮอลแม่ปั๊มเบรก
5 m. 5 m. ปวช. สาย A ปวช. สาย B 3 m. 3 m. 5 m. 5 m. 7 m. 7 m. 5 m. พื้นที่ 80 ตร.ม. พื้นที่ 80 ตร.ม. 5 m. 5 m. 7 m. 7 m. 5 m. 5 m. 3 m. 3 m. 5 m. 5 m. 3 m. 3 m.
กำหนดการ ลำดับการแข่งขันรอบภูมิภาค วันที่ 1 วันที่ 2 เช้า: การอบรม เช้า: การอบรม บ่าย: แข่งขันภาคทฤษฎี วันที่ 2 เช้า: ลงทะเบียน พิธีเปิด เริ่มแข่งขันภาคปฏิบัติ บ่าย: แข่งขันภาคปฏิบัติ พิธีปิด **ระหว่างการแข่งขันภาคปฏิบัติจะมีกิจกรรมเสริมอื่นๆ
การแข่งขันสมรรถนะ (ปวช.& ปวส.) Isuzu Vehicle Display & Activities ลำดับการแข่งขันรอบภูมิภาค วันที่ 2 กำหนดการ 8:00 ลงทะเบียน 8:30 พิธีเปิด (กล่าวเปิดงาน, ถ่ายรูปหมู่) 9:00 เริ่มการแข่งขันและกิจกรรม การแข่งขันสมรรถนะ (ปวช.& ปวส.) Isuzu Vehicle Display & Activities สุดยอดนักขายอาชีวะ ถนนอาชีพ ฝึกอาชีพ (108 อาชีพ) แข่งขันการทำอาหารท้องถิ่น ขายของ Isuzu & VEC - โชว์รถ Isuzu - โชว์รถ Formula- VEC Mobile Service เล่นเกมตอบคำถามชิงรางวัล แข่งขันช่วงระหว่างหยุดพักการแข่งขันสมรรถนะ แบ่งออกเป็น 4 สถานี ใช้เวลาในการแข่งขันสถานีละ 15 นาที
คุณสมบัติของทีมเข้าแข่งขัน นักศึกษา : เป็นนักศึกษาที่กำลังศึกษาใน ระดับปวช. และปวส. สาขาช่างยนต์ (เครื่องกล) ภาคปกติเท่านั้น และกำลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษา สังกัด สอศ. ที่ปรึกษาทีม (โค้ช) : เป็นอาจารย์ที่สอนวิชาสาขาช่างยนต์ (เครื่องกล) ประจำสถานศึกษาสังกัด สอศ.
กำหนดการ หลักฐานการสมัคร ที่ปรึกษาทีม (โค้ช) : นักศึกษา : 1. ใบสมัครพร้อมรูปถ่ายสีขนาด 1 นิ้ว จำนวน 2 รูป (รูปถ่ายปัจจุบันถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน) 2. สำเนาบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ, สำเนาบัตรพนักงานราชการหรือ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน นักศึกษา : 1. ใบสมัครพร้อมรูปถ่ายสีขนาด 1 นิ้ว จำนวน 2 รูป (รูปถ่ายนักศึกษาไม่เกิน 6 เดือน) 2. สำเนาบัตรประจำตัวนักศึกษา 3. หนังสือรับรองจากหัวหน้าสถานศึกษา
การตัดสิน ระดับ ปวช. และ ระดับ ปวส. จะใช้หลักเกณฑ์เดียวกัน คือ : รอบคัดเลือก : การตัดสินจะพิจารณาทีมที่ทำคะแนนรวมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติสูงสุดเป็นอันดับ 1 ของแต่ละกลุ่ม (9 กลุ่ม) และทีมที่ทำคะแนนรวมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติเป็นอันดับ ที่ 1-9 ของทีมที่เข้าแข่งขันทั้งหมดทั่วประเทศ (นอกเหนือจากทีมที่เป็นอันดับหนึ่งของ แต่ละกลุ่ม) เข้าสู่รอบชิงชนะเลิศ แบ่งเป็นระดับ ปวช. 18 ทีม ระดับ ปวส. 18 ทีม รวม 36 ทีม ประกาศผลรอบคัดเลือกระดับภาค วันที่ 15 กันยายน 2552 รอบชิงชนะเลิศ : จะพิจารณาตัดสิน ทีมที่ทำคะแนนรวมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติสูงสุดเป็นอันดับ 1-3 เป็นผู้ได้รับรางวัลชนะเลิศ, รองชนะเลิศอันดับ 1 และรองชนะเลิศอันดับ 2 ตามลำดับ และรางวัลพิเศษสำหรับทีมที่ทำคะแนนสูงสุดของแต่ละภาค ในการแข่งขัน รอบคัดเลือก หมายเหตุ : 1. คำตัดสินของคณะกรรมการในการแข่งขันถือเป็นที่สุด 2. ทีมและสถานศึกษาที่ได้รับรางวัล จะมีสิทธิ์รับรางวัลสูงสุดเพียงรางวัลเดียวเท่านั้น คือ หากได้รับรางวัลชนะเลิศ, รองชนะเลิศอันดับ 1 หรือรองชนะเลิศอันดับ 2 ในการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศแล้ว จะไม่ได้รับรางวัลพิเศษสำหรับทีมที่ทำคะแนนสูงสุด ของแต่ละภาค ในการแข่งขันรอบคัดเลือก 3. ในกรณีที่คะแนนรวมเท่ากันจะพิจารณาทีมที่ทำคะแนนภาคปฏิบัติได้สูงกว่าเป็นเกณฑ์ การตัดสินและหากคะแนนเท่ากันทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติจะพิจารณาคะแนน ภาคปฏิบัติจากลำดับความสำคัญของหัวข้อการแข่งขัน