สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดอุดรธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

การจัดระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา โรงเรียนด่านแม่คำมัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
การวิจัย RESEARCH.
ทิศทางการพัฒนาการจัดการศึกษา สำหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาส
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
เพื่อรับการประเมินภายนอก
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
สาเหตุและความเป็นมา ประเด็นอภิปราย 3 ประการ สภาพของปัญหา แนวความคิดสำคัญเพื่อ การพัฒนา.
ครุศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
๘ กลยุทธ์ การยกระดับและคุณภาพ O-NET ปี ๒๕๕๕
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘)
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
สุจิตรา บำรุงกาญจน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
สาขา การบริหารการศึกษา
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
ผู้วิจัย : ว่าที่ร้อยโทนรินทร์ ดารุณศิลป์
ณ. สีดารีสอร์ท อ. เมือง จ. นครนายก
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดอุดรธานี การดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ของวิทยาลัยเทคโนโลยีอีสานเหนือ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 1 อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี INTERNAL QUALITY ASSURANCE IN ESARNTECHNOLOGICAL COLLEGE , UNDER THE OFFICE OF EDUCATIONAL SERVICE UDONTHANI AREA 1 , MUANG DISTRICT UDONTHANI. นายสุริยา วงษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดอุดรธานี

1. ปัญหา/คำถามของการศึกษา 1. ปัญหา/คำถามของการศึกษา 1. สภาพการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอีสานเหนือ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 1 อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี อยู่ในระดับใด 2.ปัญหาการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอีสานเหนือ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 1 อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี อยู่ในระดับใด 3.แนวทางในการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของวิทยาลัย เทคโนโลยีอีสานเหนือ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 1 อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานีมีแนวทางเป็นอย่างไร

2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินการประกันคุณภาพภายการศึกษาในของวิทยาลัยเทคโนโลยีอีสานเหนือ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต1 อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 2. เพื่อศึกษาปัญหาการดำเนินการประกันคุณภาพภายการศึกษาในของวิทยาลัยเทคโนโลยีอีสานเหนือ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 1 อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 3. เพื่อหาแนวทางในการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและการประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกรอบที่สามของวิทยาลัยเทคโนโลยีอีสานเหนือ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 1 อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับสารสนเทศในการปรับปรุงการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ของวิทยาลัยเทคโนโลยีอีสานเหนือ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 1 อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 2. ผลการวิจัยเป็นข้อมูลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในการนำไปใช้พัฒนาปรับปรุงกระบวนการดำเนินการประกันคุณภาพในสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาสถานศึกษา 3.สถานศึกษาได้แนวทางในการพัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งการประกันคุณภาพภายในและการประกันคุณภาพรอบที่สาม

กรอบแนวคิดในการวิจัย ( Conceptual Framework ) ประเด็นหลัก สภาพการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีอีสานเหนือ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 1 อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ประเด็นรอง สภาพ ปัญหาและแนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน 1.การเตรียมการ 2. ระบบบริหารจัดการและสารสนเทศ 3.การจัดทำและการดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 4.การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพ 5.การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี

การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลที่ใช้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ข้อมูลที่ใช้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ประเภทเชิงปริมาณ วิเคราะห์โดยหาค่า x ,S.D และ ค่าร้อยละ ประเภทเชิงคุณภาพ วิเคราะห์โดย Content Analysis

สรุปผลการวิจัย

ด้านสภาพ เรียงลำดับตามรายด้าน ดังนี้ ด้านสภาพ เรียงลำดับตามรายด้าน ดังนี้ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการจัดทำและการดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ( x= 3.80 ) รองลงมาคือด้านการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพ ( x= 3.74) ด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือด้านการเตรียมการ ( x = 3.56 )

ด้านปัญหา เรียงลำดับตามรายด้าน ดังนี้ ด้านปัญหา เรียงลำดับตามรายด้าน ดังนี้ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ด้านการเตรียมการ( x = 2.88 ) รองลงมาคือ ด้านการจัดทำและการดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ( x = 2.63) ด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือด้านการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพ ( x = 2.23 )

แนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีอีสานเหนือ ควรมีการประชุม ชี้แจง อบรมให้ความรู้ เพื่อสร้างความตระหนักให้บุคลากรเห็นความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และมีการมอบหมายงานตามความสามารถของครูที่รับผิดชอบแต่ละมาตรฐานหรือตัวบ่งชี้ ตลอดทั้งติดตามการทำงานและร่วมกันวางแผนปฏิบัติการอย่างเป็นระบบ เตรียมข้อมูลสารสนเทศให้พร้อมจัดการนิเทศงานอย่างต่อเนื่อง ตลอดทั้งส่งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในงานการประกันคุณภาพภายในเข้ารับการอบรม และที่สำคัญคือการร่วมมือกันในการทำงาน

จบการนำเสนอ ขอบคุณและสวัสดีครับ นายสุริยา วงษา