ผู้วิจัย อาจารย์กัมพล ติปิน วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การใช้กระบวนการกลุ่มเพื่อพัฒนาทักษะการทำงานของนักศึกษา ระดับชั้น ปวส.1/2 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ในรายวิชาการเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กร ผู้วิจัย อาจารย์กัมพล ติปิน วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ปัญหาการวิจัย จากปรัชญาวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์และสมรรถนะทางสังคม ผู้เรียนขาดการปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน ผู้เรียนขาดความกระตือรือร้น ผู้เรียนอาจเครียดในการเรียน ผู้เรียนขาดทักษะในการทำงาน Company Logo
วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของ งานวิจัย เพื่อพัฒนาทักษะการทำงานของนักศึกษา ระดับชั้น ปวส 1/2 ที่เรียนในรายวิชาการเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 โดยการสอนแบบกระบวนการกลุ่ม Company Logo
ตารางหรือผังสรุปสำคัญ สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาก่อนเรียน ตามแผนการจัดการเรียนรู้ ดำเนินการสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม วิเคราะห์คะแนนแบบทักษะการทำงานนักศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์แบบประเมินผลความพึงพอใจของนักศึกษา Company Logo
ตัวอย่างกิจกรรมการจัดการเรียนแบบกลุ่ม หน่วยการเรียนที่ 2 องค์กรและการจัดองค์กรที่มีประสิทธิภาพ 1. ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 10-11 คน 2. ให้ผู้เรียนวาดรูปสัตว์ที่ตนเองอยากเป็นมากที่สุดพร้อมทั้งอธิบายจุดเด่นที่อยากเป็นเพราะเหตุใด 3. จากนั้นให้ผู้เรียนจัดโครงสร้างขององค์กรโดยนำรูปสัตว์มาจัดอยู่ในตำแหน่งไหน เพราะเหตุใด สมาชิกในกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ 4. ออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล ว่าทำไมจึงนำสัตว์มารับตำแหน่งนั้นๆ เพราะเหตุใด
ตัวอย่าง โครงสร้างขององค์กร ประธานบริษัท หัวหน้าฝ่ายการตลาด หัวหน้าฝ่ายบัญชี หัวหน้าฝ่ายผลิต หัวหน้าฝ่ายบุคคล
สรุปผลการวิจัย 1. จากนักศึกษา จำนวน 31 คนมีพฤติกรรมทักษะการทำงานก่อนเรียนคะแนน เฉลี่ยที่ 12 คะแนนจากคะแนนเต็ม 25 คะแนน ภายหลังการจัดการเรียนรู้แบบ กลุ่ม ทำให้นักศึกษามีคะแนนทักษะเพิ่มขึ้น คะแนนเฉลี่ยที่ 17.9 คะแนน และ มีคะแนนความก้าวหน้า เฉลี่ยที่ 5.19 คะแนน 2. นักศึกษามีความคิดเห็น ที่มีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนโดย ใช้กระบวนการกลุ่มอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด คะแนนเฉลี่ยที่ 4.47 คะแนน จากระดับคะแนนความพึงพอใจมากที่สุด ที่ 4.5-5 คะแนน
ประโยชน์ที่ได้รับจาการวิจัย 1. ประโยชน์ที่มีต่อผู้เรียน 1.1. ผู้เรียนมีทักษะในการทำงานเพิ่มมากขึ้น 1.2. ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนในชั้นเรียนที่ดีขึ้น 1.3. ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน และมีความสุขในการเรียนเพิ่มมากขึ้น 2. ประโยชน์ที่มีต่อผู้สอน 2.1. ได้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่ม โดยใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อพัฒนาทักษะการทำงานของนักศึกษา 2.2. ได้แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่ม โดยใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อพัฒนาทักษะการทำงาน ที่สามารถนำไปใช้กับการเรียนในรายวิชาอื่นได้ 3. ประโยชน์ที่มีต่อสถานศึกษา สถานศึกษาได้ผู้เรียนที่มี ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์ และสมรรถนะทางสังคม ซึ่งตรงตามปรัชญาของวิทยาลัย Company Logo
ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยต่อไป การใช้กระบวนการกลุ่มเพื่อพัฒนาทักษะการทำงาน ควรหากิจกรรมที่มีความแปลกใหม่ ความทันสมัย และความสนุกสนาน เพื่อให้ผู้เรียนสนใจในกิจกรรมการเรียนรู้ 1 ควรมีการทดลองใช้ Mind map เข้ากับรายวิชาที่นักศึกษาไม่ค่อยให้ความสนใจ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ เป็นต้น เพื่อมาเปรียบเทียบผลการเรียนกับรายวิชาที่นักศึกษาให้ความสนใจ 2 ควรมีการศึกษา เปรียบเทียบผลการเรียนของรายวิชาที่ให้นักศึกษาทำ Mind map กับรายวิชาที่ไม่ได้ทำ Mind map ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับการใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านอื่น ๆ ของผู้เรียน เช่น ทักษะทางสังคม ทักษะการนำเสนอ ทักษะการให้บริการ เป็นต้น Company Logo
Thank You ! www.themegallery.com