ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009
“การอ่านเพื่อการเรียนรู้” การอ่านใน PISA นิยามของการอ่าน ความรู้และทักษะที่จะเข้าใจเรื่องราวและสาระของสิ่งที่ได้อ่าน คิดวิเคราะห์ แปลความ ตีความ ประเมินสาระที่ได้อ่านและสะท้อนออกมาเป็นความคิดของตน “การอ่านเพื่อการเรียนรู้”
สมรรถนะการอ่าน สมรรถนะการอ่าน ค้นสาระ (Retrieving information) ตีความ (Interpretation) สมรรถนะการอ่าน วิเคราะห์ และประเมิน (Reflection and Evaluation)
ลักษณะการประเมิน 1 2 3 4 ไม่ถามเนื้อหาสาระตามหลักสูตร เน้นวัดสมรรถนะด้านการอ่าน 3 เน้นการคิดวิเคราะห์หาคำอธิบาย 4 เน้นข้อสอบที่นักเรียนต้องเขียนตอบ
ลักษณะแบบทดสอบ 1 2 3 4 เลือกตอบเชิงซ้อน เลือกตอบ เลือกตอบเชิงซ้อน เขียนคำตอบสั้นๆ 3 เขียนตอบแบบเปิด 4
ลักษณะแบบทดสอบ เขียนตอบแบบเปิด
ลักษณะแบบทดสอบ เลือกตอบ 1 เลือกตอบเชิงซ้อน 2 เขียนคำตอบสั้นๆ 3 เขียนตอบแบบเปิด 4 นักเรียนจะไม่ได้คะแนนจากการลอกเนื้อเรื่องบางส่วนหรือลอกส่วนหนึ่งของคำถามมาตอบ !
สถานการณ์ในการอ่าน สถานการณ์ในการอ่าน ส่วนตัว สังคม การศึกษา อาชีพ
ลักษณะของบทความ บทความโฆษณา ชักชวน เช่น ป้ายโฆษณา ใบปลิว ประกาศเชิญชวน บทความโฆษณา ชักชวน เช่น ป้ายโฆษณา ใบปลิว ประกาศเชิญชวน บทความเชิงพรรณนาสั้นๆ บทความเชิงอธิบาย มีภาพ /กราฟ /แผนผัง /ตาราง เพิ่มเติม บทความสั้นๆ เริ่มต้นด้วยการใช้คำถามเชิงเล่นสำนวน บทความยาวมีหลายย่อหน้าในเชิงพรรณนา บทละครสั้นๆ บทวิจารณ์ 2 บทที่มีความคิดเห็นแตกต่างกัน นิทานสั้นๆ
ลักษณะของบทความ บทความโฆษณา บทความเชิง พรรณนาสั้นๆ บทความ เชิงอธิบาย รู้จุดประสงค์หลักของป้ายประกาศ รู้ถึงสาระสำคัญ รู้สาระในส่วนต่างๆ ของเรื่อง สามารถระบุกลยุทธ์ที่ใช้ในการจูงใจ บทความโฆษณา บทความเชิง พรรณนาสั้นๆ รู้ใจความสำคัญของเรื่อง บอกตำแหน่งของสาระสำคัญในเรื่อง รู้แนวคิดของเรื่อง เชื่อมโยงเนื้อเรื่องกับภาพประกอบ การวิเคราะห์ข้อมูลที่แสดงในรูปแบบต่างๆ สรุปข้อมูล บทความ เชิงอธิบาย
บทความสั้นๆ เชิงเล่นสำนวน ลักษณะของบทความ บทความสั้นๆ เชิงเล่นสำนวน รู้จุดประสงค์ของการเริ่มเรื่องด้วยการใช้คำถาม เชิงเล่นสำนวน รู้ว่าคำอุทานในเรื่องต้องการสื่อถึงอะไร เข้าใจความคิดของผู้เขียน รู้จุดประสงค์ของการเขียน รู้ว่าใครคือผู้เขียน เชื่อมโยงประโยคหรือย่อหน้าสุดท้ายกับลำดับ เหตุการณ์ในเนื้อเรื่อง บทความยาว อธิบายลักษณะหรือพฤติกรรมของตัวละคร เข้าใจบทบาทของตัวละคร เข้าใจสิ่งที่ผู้เขียนบทละครต้องการสื่อสาร บทละครสั้นๆ
บทวิจารณ์ 2 บทที่แตกต่างกัน ลักษณะของบทความ บทวิจารณ์ 2 บทที่แตกต่างกัน รู้ว่าบทวิจารณ์ทั้งสองแตกต่างกันอย่างไร แสดงความคิดเห็นสนับสนุนฝ่ายใดฝ่าย หนึ่ง พร้อม อธิบายเหตุผล รู้ลำดับเหตุการณ์ในนิทาน รู้สาระสำคัญของนิทาน เข้าใจการแสดงออกของตัวละคร เชื่อมโยงสาระสำคัญกับเนื้อเรื่องในนิทาน นิทานสั้นๆ
Click to edit company slogan . Thank You ! Click to edit company slogan .