การนิเทศภายในของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Advertisements

ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
ครุศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่อง กระดาษทำการ 8 ช่อง ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
สาขา การบริหารการศึกษา
ผู้วิจัย นายถนอมศักดิ์ บุญแฟง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
การพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้แบบร่วมมือกันของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางสาวรุ่งราตรี
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
ผลงานวิจัยทางการศึกษา ด้านอาชีวศึกษา The study of any cause of students’ dropout in vocation education of Charansanitwong school of Business subject to.
วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
เรื่อง การมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล
นายกิจชัย วงศ์ราช วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักเรียน-นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางอรอนงค์ ชูศรี
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
นางสาววรันธร ปรุงเรณู
โดย นายสมชาย เจือจาน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
สภาพแวดล้อมภายในวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การศึกษาความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงานของบุคลากร โรงเรียนบริหารธุรกิจอยุธยา A Study Of Job Satisfaction Of Ayutthaya Business Administration School Employees.
ชื่อผู้วิจัย นางปราณี แจ่มสาคร
ชื่อผลงานวิจัย การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองใน การบริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นายรัตนวุธ บุญเทียบ.
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนิเทศภายในของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ นางพรสวรรค์ แย้มกวีตระกูล ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ

ความสำคัญและปัญหาการวิจัย - การพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีมาตรฐานของสถานศึกษา เอกชนต้องพัฒนาและ ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนให้ได้มาตรฐานและมีประสิทธิภาพโดยอาศัยการนิเทศภายใน - ควรมีการศึกษาสภาพการดำเนินงานและความคาดหวังของการนิเทศภายใน เพื่อนำ ข้อมูลมาพัฒนาการบริหารงานวิชาการของวิทยาลัยให้มีประสิทธิภาพ และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก - ในฐานะที่ผู้วิจัยเป็นผู้บริหารงานด้านวิชาการของวิทยาลัย ผู้วิจัยมีความตระหนักถึงความสำคัญของการนิเทศภายใน นำผลการวิจัยมาพัฒนาการนิเทศภายในของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการให้มีประสิทธิภาพ ตลอดจนส่งผลไปถึงการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพต่อไป

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อหารูปแบบการนิเทศภายในที่เหมาะสมกับสภาพของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อกระบวนการนิเทศภายในของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ

ระเบียบวิธีวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ประชากร ได้แก่ ผู้บริหาร และครูผู้สอน ของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตร พณิชยการ ปีการศึกษา 2556 จำนวน 109 คน จำแนกเป็นผู้บริหาร จำนวน 13 คน และครูผู้สอนจำนวน 96 คน ในการวิจัยครั้งนี้เพื่อให้การพัฒนาการนิเทศภายในตรงกับความต้องการของผู้บริหาร และครูผู้สอนผู้วิจัยจะศึกษาจากประชากรทั้งหมด จำนวน 109 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1. การประชุมกลุ่มย่อย 3 ครั้ง 2. แบบสอบถามความต้องการนิเทศภายใน 3. แบบสอบถามความพึงพอใจของรูปแบบการนิเทศภายใน ด้านการเรียนการสอน ที่เหมาะสมกับสภาพของวิทยาลัย

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม รูปแบบการนิเทศแบบต่างๆ - รูปแบบ POLCA - รูปแบบคลินิก -รูปแบบ PIDRE ความพึงพอใจของครูผู้สอนที่มีต่อรูปแบบการนิเทศแบบต่างๆ รูปแบบการนิเทศภายในที่เหมาะสม ของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตร พณิชยการ

สมมติฐานของการวิจัย ครูแต่ละสาขามีความต้องการรูปแบบการนิเทศภายในไม่แตกต่างกัน ครูมีความพึงพอใจในการนิเทศภายในระดับปานกลาง

สรุปผลการวิจัย ตารางที่ 1 ความต้องการรูปแบบการนิเทศในที่เหมาะสมกับวิทยาลัย รูปแบบการนิเทศ ลำดับที่ (ฐานนิยม) 1 2 3 รูปแบบการนิเทศภายในPOLCA 54 7 48 รูปแบบการนิเทศภายในแบบคลินิก 97 9 - รูปแบบการนิเทศภายในแบบ PIDRE 28 39 42 จากตารางพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามความต้องการรูปแบบการนิเทศภายในที่เหมาะสมกับ วิทยาลัย เรียงลำดับโดยพิจารณาตามค่าฐานนิยม คือ เลือกรูปแบบการนิเทศภายใน แบบคลินิก เป็น ลำดับที่ 1มากที่สุดเป็น รูปแบบการนิเทศภายใน POLCA เป็น ลำดับที่ 2 และ เลือกรูปแบบการนิเทศภายในแบบ PIDRE เป็นลำดับที่ 3

สรุปผลการวิจัย ตารางที่ 2 ความพึงพอใจของรูปแบบการนิเทศภายใน ของวิทยาลัย รายการ S.D. ระดับความพึงพอใจ 1. ท่านพึงพอใจที่โรงเรียนจัดประชุม เพื่อสรุปปัญหาและเสนอแนะความต้องการในการบริหารงานประจำปี 4.05 0.59 มาก   2. ท่านพึงพอใจในการจัดประชุมครูเพื่อกำหนดขั้นตอน/เป้าหมาย/เทคนิควิธีนิเทศ 3.95 1.02 3. ท่านพึงพอใจที่วิทยาลัยเชิญวิทยากรภายนอกอบรมให้ความรู้การนิเทศภายใน 4.19 0.75 3. ท่านพึงพอใจที่วิทยาลัยอบรมให้ความรู้การนิเทศภายในอย่างสม่ำเสมอ 4.14 0.79 4. ท่านพึงพอใจที่วิทยาลัยให้ผู้บริหาร ผู้นิเทศ และผู้รับการนิเทศตกลงร่วมกันในการนิเทศภายใน 4.29 0.56 5. ท่านพึงพอใจที่วิทยาลัยมีการสาธิตการนิเทศภายในแก่ผู้เกี่ยวข้อง 4.24 0.89 6. ท่านพึงพอใจที่ผู้รับการนิเทศได้แสวงหาความรู้ใหม่ๆด้วยตนเองอยู่เสมอ 0.70 7. ท่านมีความพึงพอใจที่วิทยาลัยมีการนิเทศภายในเป็นไปตามแผนงาน 4.09 0.74 8. ท่านมีความพึงพอใจที่วิทยาลัยใช้เทคนิควิธีการนิเทศภายในที่เหมาะสม 0.77 9. ท่านพึงพอใจที่วิทยาลัยได้ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้รับการนิเทศ 3.90 10. ท่านพึงพอใจที่ผู้บริหารส่งเสริม สนับสนุน สร้างขวัญกำลังใจในการนิเทศภายใน 3.86 0.91

สรุปผลการวิจัย ตารางที่ 2 ความพึงพอใจของรูปแบบการนิเทศภายใน ของวิทยาลัย รายการ S.D. ระดับความพึงพอใจ 11. ท่านพึงพอใจที่มีการวางตัวผู้นิเทศเป็นเพื่อนร่วมงาน 4.10 0.73 มาก 12. ท่านพึงพอใจที่วิทยาลัยนำผลของการนิเทศภายในมาใช้ในการพิจารณาความดีความชอบ 3.67 1.28 ปานกลาง 13. ท่านพึงพอใจที่วิทยาลัยได้มีการประเมินผลการนิเทศภายในโดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน 4.14 0.57 14. ท่านพึงพอใจวิทยาลัยได้มีการประเมินผลการนิเทศภายในโดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับผู้รับการนิเทศ 3.76 0.54 15. ท่านมีความพึงพอใจที่วิทยาลัยนำผลการประเมินไปวางแผนปรับปรุงการดำเนินการให้ดีขึ้น 0.59 ความพึงพอใจในภาพรวม 4.33 0.82

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป ผลกระทบที่เกิดขึ้น 1. ควรนำข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในด้านบุคลากรในโรงเรียนขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีใหม่ไปใช้ ในการจัดการเรียนการสอน โดยผ่านการนิเทศภายใน อย่างสม่ำเสมอ หรือทุก 3 เดือน ของทุกภาคการศึกษา 2. ควรนิเทศภายในเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคลากรทางการศึกษาในด้านคุณธรรม จริยธรรมและโครงการครูดีศรีโรงเรียน 3. ควรติดตามนิเทศนักเรียนที่ขาดความอบอุ่นทางครอบครัวและสามัคคีกัน โดยผ่าน โครงการคุณธรรมประจำตัว หรือโครงการรู้รักสามัคคี 4. ควรจัดหางบประมาณเข้ามาใช้ในสถานศึกษาทุกรูปแบบ เพื่อลดปัญหา การขาดวัสดุอุปกรณ์ การบริการ การสื่อสาร และการนิเทศภายใน ผลกระทบที่เกิดขึ้น ทำให้ได้รูปแบบการนิเทศที่เหมาะสมกับวิทยาลัย และเป็นที่ยอมรับของครูอาจารย์ทุกคน ทำให้ครูอาจารย์ของวิทยาลัยมีทัศนคติที่ดีต่อการนิเทศภายใน สามารถนำผลการนิเทศภายในมาปรับปรุงการเรียนการสอนให้เหมาะสม เป็นการพัฒนา ตนเอง และผู้เรียนได้มากขึ้น