วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
ถุงเงิน ถุงทอง.
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังจังหวัดกระบี่
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
สำนักงานตรวจสอบภายในทหาร
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ประเด็น หลักที่ 4 การบริหาร จัดการระบบ สุขภาพ. 4.1 การ บริหาร การเงินการ คลัง CFO.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวง สาธารณสุข รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2552 ระหว่างวันที่ มกราคม 2552 ( ข้อเสนอแนะ ) 1. ในการดำเนินงานเพื่อตอบตัวชี้วัด.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มีนาคม 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มกราคม 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
จังหวัดนครปฐม.
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
ชื่อตัวชี้วัด ชนิดตัวชี้วัด ( แบบปริมาณ / แบบ ขั้นตอน ) ประเภทตัวชี้วัด.....(
การบริหารงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงบประมาณ
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สรุปภาพรวมการดำเนินงานตาม แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2551 ของสำนักงานเขตบางคอแหลม ประกอบการตรวจประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ เพื่อขอรับเงินรางวัลประจำปี
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
กลุ่มที่ 11.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 1. มีการคณะกรรมการ หรือ คณะอนุกรรมการ.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ตัวชี้วัด 2 รายงานกิจกรรม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง.
ปีงบประมาณ 2558 ครั้งที่ 2 การประชุม CFO จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ปี 2557 คณะที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการ วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี

ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 301. มีระบบข้อมูลสำหรับการบริหารจัดการในทุกระดับ ประเด็นตรวจราชการที่ 3.1 การจัดทำแผนกลยุทธ์หรือแผนสุขภาพภาพรวมของเขตบริการสุขภาพ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 301. มีระบบข้อมูลสำหรับการบริหารจัดการในทุกระดับ

ประเด็นตรวจราชการที่ 3.2 การบริหารและจัดการทรัพยากรบุคคล ของเขต ประเด็นตรวจราชการที่ 3.2 การบริหารและจัดการทรัพยากรบุคคล ของเขต ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 302. มีแผนกำลังคนและดำเนินการ ตามแผน

องค์ประกอบการประเมิน มีการบริหารจัดการ การกระจายบุคลากรในระดับเขต/จังหวัด มีการใช้ทรัพยากรบุคคลร่วมกัน มีการใช้ FTE ในการบริหารจัดการด้านกรอบอัตรากำลัง มีการบริหารจัดการ Labor Cost ที่เหมาะสมในระดับเขต/จังหวัด

ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 1.ข้อมูล FTE มีโอกาสผิดพลาดด้วยระยะเวลาดำเนินการที่จำกัด ทำให้ข้อมูลต่างๆขาดความครอบคลุม 1.ขอเขตขยายกรอบ FTE ที่ควรมีให้เพียงพอกับอัตราลูกจ้างชั่วคราวที่จ้างไว้ และรองรับการขยายตัวของการให้บริการ 2. ขอกระทรวงขยายกรอบ ในกรณี FTE เกิน 100% 2.ข้อมูล FTE ของสถานบริการมีการจัดเก็บไม่ครบถ้วนทุกสาขาวิชา และข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน 1. เกลี่ยตำแหน่งระหว่างกลุ่มงาน เพื่อให้สามารถจัดลงกรอบได้

ประเด็นตรวจราชการที่ 3.3.1 การบริหารจัดการงบประมาณ ประเด็นตรวจราชการที่ 3.3.1 การบริหารจัดการงบประมาณ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 303. ร้อยละของรายการจัดซื้อจัดจ้าง งบลงทุนลงนามในสัญญาได้ ไตรมาส 1 (ร้อยละ 100) 304.ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมในปี 2557 (ไตรมาส 3 ร้อยละ 70)

ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 1.การจัดสรรงบประมาณจากส่วนกลางล่าช้าในช่วงต้นปีงบประมาณ เร่งรัดการเบิกจ่ายและวางแผนจัดซื้อจัดจ้างตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2.ความล่าช้าในการเบิกจ่ายงบประมาณในส่วนรพศ. เร่งรัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณในช่วงไตรมาส 4

ประเด็นตรวจราชการที่ 3.3.2 การบริหารการเงินการคลัง ประเด็นตรวจราชการที่ 3.3.2 การบริหารการเงินการคลัง ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 305. ด้านการเงินมีการจัดทำแผน และดำเนินการตามแผนของเขต/จังหวัด 306. สามารถควบคุมปัญหาทางการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการไม่เกินร้อยละ 10 307.หน่วยบริการมีต้นทุนต่อหน่วยเกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่ม ไม่เกินร้อยละ 20

305. ด้านการเงินมีการจัดทำแผน และดำเนินการตามแผนของเขต/จังหวัด ◊ การบริหารงบประมาณร่วม และควบคุมค่าใช้จ่ายต้นทุนผันแปรลดลง 10% คิดคะแนนภาพรวมได้ร้อยละ 88 306. สามารถควบคุมปัญหาทางการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการไม่เกินร้อยละ 10 ◊ พบ 0 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 0 307.หน่วยบริการมีต้นทุนต่อหน่วยเกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่ม ไม่เกินร้อยละ 20 ◊ ไม่มีการประเมินในรอบนี้

ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จ จังหวัดมีการเฝ้าระวังและให้ความช่วยเหลือรพ.ที่ขาดสภาพคล่อง และติดตามปัญหาอย่างใกล้ชิด จังหวัดมีมาตรการพงก.ระดับจังหวัดเพิ่มเติมของเขต เพื่อเฝ้าระวังปัญหาได้รวดเร็วขึ้น ทำให้รพ.ที่มีความเสี่ยงได้ปรับตัวก่อน ผู้บริหารระดับรพ.ตื่นตัวในเรื่องการบริหารการเงินการคลังมากขึ้น

นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง มาตรการพปง.ระดับจังหวัดเพื่อเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหา ระบบกันเงินช่วยเหลือกันในระดับจังหวัด 10 ล้านบาท การช่วยเหลือด้านการเงินการคลังระหว่างกันของรพช. แผนพัฒนางาน CFO ครอบคลุมถึงระดับ รพ.สต. และมีการกันเงินช่วยเหลือรพ.สต.ในปี 2557 จำนวน 4 ล้านบาท

ข้อเสนอแนะ วิเคราะห์วิกฤตการเงิน และติดตามควบคุมรายได้ค่าใช้จ่ายตาม Planfin นำเสนอที่ประชุมผู้บริหารจังหวัดทุกเดือน ติดตามการ Forecast สถานการณ์การเงินการคลังรพ.ทุกแห่งรายไตรมาส จัดทำแผนพัฒนาประสิทธิภาพการเงินการคลังในรพ.ที่วิกฤตระดับ 7 โดยใช้เครื่องมือ Benchmarking data เขต 8 ในการกำหนดเป้าหมายดำเนินการ CFO จังหวัดลงตรวจเยี่ยมรพ.ที่มีวิกฤตระดับ 7 ติดต่อกัน 2 เดือน จังหวัดส่งรพ.เข้าโครงการพัฒนาประสิทธิภาพการเงินการคลัง(พปง.)ระดับเขต กรณีวิกฤตระดับ 7 ติดต่อกัน 3 เดือน

ประเด็นตรวจราชการที่ 3.4 การบริหารยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ประเด็นตรวจราชการที่ 3.4 การบริหารยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 308.ลดต้นทุนของยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ◊ หน่วยบริการมีแผนการบริหารยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ร่วม ร้อยละ 100 ◊ ต้นทุนค่าเวชภัณฑ์ลดลงร้อยละ 10 ◊ ต้นทุนค่าเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยาลดลงร้อยละ 10 ◊ มูลค่าการจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20

1.หน่วยบริการมีแผนการบริหารยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ร่วม ร้อยละ 100 ◊ หน่วยบริการมีแผน ร้อยละ 100 2. ต้นทุนเวชภัณฑ์ลดลงร้อยละ 10 ◊ มูลค่าการจัดซื้อลดลงร้อยละ 2.11 3. ต้นทุนเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยาลดลงร้อยละ 10 ◊ มูลค่าการจัดซื้อลดลงร้อยละ 35.79 4. มูลค่าการจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ◊ มูลค่าการจัดซื้อร่วมร้อยละ 32.03

ประเด็นตรวจราชการที่ 3.5 การควบคุมภายใน ประเด็นตรวจราชการที่ 3.5 การควบคุมภายใน ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 309.การจัดระบบควบคุมภายในมีความเหมาะสมตามมาตรฐาน 310.มีการบริหารความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยงอย่างเป็นรูปธรรม

องค์ประกอบ 5 ขั้นตอน

องค์ประกอบ 7 กระบวนงาน การจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิข้าราชการเบิกจ่ายตรง การจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิ UC การควบคุม เก็บรักษา บริหารคลังเวชภัณฑ์และวัสดุ การจัดทำแผนจัดซื้อวัสดุประจำปี การจัดทำแผนปมก.รายได้และควบคุมค่าใช้จ่าย การจัดทำแผนการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ การจัดทำแผนการจัดหางบลงทุน

ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ผู้รับผิดชอบในการจัดทำรายงานระบบควบคุมภายในมีน้อย ทำให้ขาดการเชื่อมโยงและต่อเนื่องของการดำเนินงาน และเกิดความล่าช้า 1.กำหนดให้ทุกกลุ่มงาน/ฝ่ายรับผิดชอบในการจัดทำรายงานการควบคุมภายในให้ชัดเจน และหากมีการโยกย้าย เปลี่ยนงาน ต้องมีการมอบหมายงานไว้อย่างถูกต้อง 2. กำหนดประเด็นการตรวจสอบฯไว้ในแผนงานยุทธศาสตร์ เพื่อให้คณะเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายในดำเนินการติดตามและรายงานผล

ประเด็นตรวจราชการที่ 3.6 การจัดการเรื่องร้องทุกข์ ประเด็นตรวจราชการที่ 3.6 การจัดการเรื่องร้องทุกข์ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 311.ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเรื่องร้องทุกข์

ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 1. การตรวจสอบของอำเภอดำเนินการไม่ครบถ้วนในประเด็นการร้องเรียนและขั้นตอนการตรวจสอบ การให้ความรู้และการเพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ 2. การตรวจสอบข้อเท็จจริง บางกรณีต้องใช้ข้อมูลที่อยู่ในความครอบครองของหน่วยงานอื่นซึ่งจะต้องใช้ระยะเวลาในการรอข้อมูลดังกล่าว ดำเนินการประสานและชี้แจงให้หน่วยงานนั้นๆเห็นความสำคัญ และให้ความร่วมมือในการสอบสวน

ประเด็นตรวจราชการที่ 3.7 การสื่อสารและสารนิเทศ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 312.ประสิทธิภาพในการสื่อสารและสารนิเทศ

ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 1. ระบบเสียงตามสายภายในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยังขาดประสิทธิภาพ ปรับปรุงระบบเสียงตามสาย และระบบห้องบันทึกเสียงให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น 2. บอร์ดประชาสัมพันธ์ไม่พอเพียง และอยู่ในจุดที่ไม่น่าสนใจ เพิ่มจำนวนบอร์ดประชาสัมพันธ์

จบการนำเสนอ