งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
ด้านบริหารการเงินการคลัง กลุ่มประกันสุขภาพ

2 ประเด็นการตรวจราชการ
1.ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาทางการเงินระดับ ๗ ของหน่วยบริการในพื้นที่ 2.หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ย กลุ่มระดับบริการ เกณฑ์เป้าหมาย: ไม่เกินร้อยละ 10 ของจำนวนโรงพยาบาลสังกัด สป. เกณฑ์เป้าหมาย : ไม่เกินร้อยละ ๒๐ ของจำนวนโรงพยาบาลในเขตบริการสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย: โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในเขตบริการสุขภาพ ระดับโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน กลุ่มเป้าหมาย: โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในเขตบริการสุขภาพ ระดับโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน

3 จำนวนที่ติดวิกฤต 7 ระดับในปี 2558
ระดับกระทรวง ประสิทธิภาพของการบริหารการเงิน สามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ 10) เป้าหมาย เขต หน่วยบริการ (แห่ง) ทั้งหมด วิกฤตระดับ Q3 ร้อยละ เป้าหมายลด ปี 2558 จำนวนที่ติดวิกฤต 7 ระดับในปี 2558 เขต 1 99 16 16% 7 9 9% 10 เขต 2 47 17 36% 8 20% 5 เขต 3 50 10% 2 3 5% เขต 4 70 13% 4 7% เขต 5 65 15% 8% เขต 6 69 14% เขต 7 72 12 17% เขต 8 86 4% เขต 9 89 3% 1 2% เขต 10 71 28 39% 13 15 21% เขต 11 75 21 28% 11 เขต 12 77 18 23% รวม 870 156 18% 85

4 ระดับเขต หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ เป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 20 - หน่วยบริการในพื้นที่ หมายถึง โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในเขตบริการสุขภาพ ระดับโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน ในเขตบริการ (870 แห่ง) -ต้นทุนต่อหน่วย หมายถึง ต้นทุนผู้ป่วยนอก (OPD) และผู้ป่วยใน (IPD) รวมทุกสิทธิ ต่อหน่วยน้ำหนัก -เกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ หมายถึง ค่าที่ใช้เพื่อเปรียบเทียบต้นทุนของตนเองกับ รพ ในระดับบริการเดียวกัน (ค่าที่เหมาะสมจะต้องไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ย (mean +1SD)

5 ผลการดำเนินงานปี 2557 ไตรมาสที่ 3/2557
ผลการดำเนินงานปี ไตรมาสที่ 3/2557 เขต ส่งข้อมูล ต้นทุนเกินเกณฑ์ ร้อยละ ๙๘ ๑๖ ๑๖.๓๓ ๔๖ ๓๔.๗๘ ๑๑ ๒๓.๙๑ ๗๐ ๓๓ ๔๗.๑๔ ๖๔ ๒๐ ๓๑.๒๕ ๖๖ ๒๕ ๓๗.๘๘ ๖๒ ๒๕.๘๑ ๘๐ ๑๔ ๑๗.๕๐ ๘๒ ๑๙ ๒๓.๑๗ ๑๐ ๖๑ ๔๐.๙๘ ๗๕ ๒๔ ๓๒.๐๐ ๑๒ ๗๖ ๓๕ ๔๖.๐๕ รวม ๘๒๖ ๒๕๔ ๓๐.๗๕

6 แนวทางการดำเนินงานเพื่อปรับประสิทธิภาพ 3 ระดับ เพื่อขับเคลื่อนตัวชี้วัด ตาม นส. ที่ สธ /ว 540 ลว.21 ตุลาคม 2557 ระดับหน่วยบริการ 1. จัดทำแผนประมาณการรายได้ฯ Planfin58 2. ส่งงบทดลอง 3. เสนอรายงานทางการเงิน และตัวชี้วัดต่อผู้บริหาร (ผอ.รพ.)เป็นประจำทุกเดือน 4. แต่งตั้ง คกก. แก้ปัญหาการเงินของ รพ.เสนอต่อ คกก .จังหวัด 5. พัฒนาระบบบัญชีให้มีคุณภาพน่าเชื่อถือ ระดับจังหวัด 1. ตั้ง คกก.ปรับประสิทธิภาพระดับ จว 2. กำหนดมาตรการควบคุมค่าใช้จ่าย/เพิ่มรายได้ให้ งปม.สมดุล 3. ตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน/ ตรวจบัญชี/ ระบบการบริหาร รพ.ทุกแห่ง 4. ประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง FAI ด้วยความโปร่งใส ระดับเขต 1. ตั้ง คกก.ปรับประสิทธิภาพระดับเขตบริการ กำหนดนโยบายเขตบริการและ สนับสนุน มาตรการ ควบคุม คชจ./เพิ่มรายได้ ของ คกก.จังหวัด ตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน/ตรวจบัญชี/ระบบการบริหาร รพ.ที่ประสบปัญหาเรื้อรัง 4. สร้าง รพ.ต้นแบบของการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังระดับเขต

7 ประเด็นที่ 1 ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาทางการเงินระดับ ๗ ของหน่วยบริการในพื้นที่
มาตรการการดำเนินงาน หน่วยบริการจะต้องมีแผนการดำเนินงานเพื่อปรับประสิทธิภาพการบริหารการเงิน พัฒนาข้อมูลบัญชีให้มีความถูกต้องน่าเชื่อถือ การตรวจติดตาม ๕ เรื่อง มีการแต่งตั้งคณะกรรมการแก้ปัญหาการเงินของ รพ. หน่วยบริการมีแผนควบคุมค่าใช้จ่าย/เพิ่มรายได้ Planfin โดยผ่านการพิจารณาจากจังหวัด และเขตอนุมัติเรียบร้อยแล้ว ๓. หน่วยบริการมีการพัฒนาบัญชีผ่านเกณฑ์คุณภาพตรวจบัญชีโดยระบบอิเลคทรอนิคส์ ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 ๔. มีการรายงานการเงินและตัวชี้วัดให้ผู้บริหารได้รับทราบประจำทุกเดือนเพื่อใช้เพื่อในการบริหารองค์กร ๕. มีการประเมินคุณภาพการบริหารการเงินการคลังโดยใช้เกณฑ์ประเมิน FAI (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80)

8 ประเด็นที่ 2 หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ
มาตรการดำเนินงาน ส่งข้อมูลบริการ Service Data ครบถ้วน ทันเวลา ทุกเดือน (ภายในวันที่ 30 ของเดือนถัดไป) การจัดการระบบบริการเพื่อให้มีต้นทุนบริการลดลง เช่นการใช้ทรัพยากรร่วมกันเพื่อ ลดการลงทุน, การส่งต่อเฉพาะภายในเครือข่าย สป. ฯลฯ การควบคุมค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการในหมวดต่างๆ ได้แก่ ค่าแรง (Labor cost: LC) ค่าวัสดุ (Material cost: MC) งบลงทุน (Capital cost: CC) ค่าใช้จ่ายดำเนินการ (Operating cost : OC การตรวจติดตาม ๕ เรื่อง ๑. หน่วยบริการมีผู้รับผิดชอบการตรวจสอบข้อมูลบริการ Service Data สำหรับทำ Unit cost แบบ Quick Method ๒. มีการรายงานต้นทุนUnitCost แบบ Quick method ให้ผู้บริหารได้รับทราบประจำทุกเดือน ๓. ต้นทุน OPD ของ รพ. ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย รพ.ในกลุ่มระดับเดียวกันเมื่อเทียบไตรมาส ๔. ต้นทุน IPD ของ รพ. ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย รพ.ในกลุ่มระดับเดียวกันเมื่อเทียบไตรมาส ๕. ได้นำข้อมูลต้นทุนไปใช้ในการพัฒนาระบบบริการ

9 แบบ Checklist แบบรายงานการตรวจราชการระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2558 (Check List) ภารกิจหลัก การติดตามนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข หัวข้อ พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ จังหวัด เขตบริการสุขภาพที่ ตรวจราชการวันที่ 1. ประเด็นการตรวจราชการ การบริหารการเงินการคลัง ลำดับ ประเด็นที่ 1 ประเด็นที่ 2 หน่วยบริการ ประสิทธิภาพของการบริหารการเงิน สามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ 10) รวม หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ (ไม่เกินร้อยละ 20) 1.มีการแต่งตั้ง คกก.แก้ปัญหาการเงิน รพ. 2.หน่วยบริการมีแผนควบคุม Planfin ครบถ้วนสมบูรณ์ 3.คุณภาพบัญชี รพ.ผ่านเกณฑ์คะแนน 100% 4. มีรายงานการเงินและตัวชี้วัดเสนอผู้บริหารทุกเดือน 5.คะแนน FAI ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 1.มีผู้รับผิดชอบตรวจสอบ Service Data ในการทำ UnitCost แบบ Quick Method 2. มีการรายงานต้นทุน Quick Method ให้ผู้บริหารทุกเดือน 3. ต้นทุน OPD ของ รพ.ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย รพ.กลุ่มระดับเดียวกันเมื่อเทียบไตรมาส 4.ต้นทุน IPD ของ รพ. ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย รพ.ในกลุ่มระดับเดียวกันเมื่อเทียบไตรมาส 5. ได้นำข้อมูลไปใช้เพื่อการพัฒนาระบบบริการ

10 Thank you


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google