วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ปี 2557 คณะที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการ วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 301. มีระบบข้อมูลสำหรับการบริหารจัดการในทุกระดับ ประเด็นตรวจราชการที่ 3.1 การจัดทำแผนกลยุทธ์หรือแผนสุขภาพภาพรวมของเขตบริการสุขภาพ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 301. มีระบบข้อมูลสำหรับการบริหารจัดการในทุกระดับ
ประเด็นตรวจราชการที่ 3.2 การบริหารและจัดการทรัพยากรบุคคล ของเขต ประเด็นตรวจราชการที่ 3.2 การบริหารและจัดการทรัพยากรบุคคล ของเขต ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 302. มีแผนกำลังคนและดำเนินการ ตามแผน
องค์ประกอบการประเมิน มีการบริหารจัดการ การกระจายบุคลากรในระดับเขต/จังหวัด มีการใช้ทรัพยากรบุคคลร่วมกัน มีการใช้ FTE ในการบริหารจัดการด้านกรอบอัตรากำลัง มีการบริหารจัดการ Labor Cost ที่เหมาะสมในระดับเขต/จังหวัด
ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 1.ข้อมูล FTE มีโอกาสผิดพลาดด้วยระยะเวลาดำเนินการที่จำกัด ทำให้ข้อมูลต่างๆขาดความครอบคลุม 1.ขอเขตขยายกรอบ FTE ที่ควรมีให้เพียงพอกับอัตราลูกจ้างชั่วคราวที่จ้างไว้ และรองรับการขยายตัวของการให้บริการ 2. ขอกระทรวงขยายกรอบ ในกรณี FTE เกิน 100% 2.ข้อมูล FTE ของสถานบริการมีการจัดเก็บไม่ครบถ้วนทุกสาขาวิชา และข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน 1. เกลี่ยตำแหน่งระหว่างกลุ่มงาน เพื่อให้สามารถจัดลงกรอบได้
ประเด็นตรวจราชการที่ 3.3.1 การบริหารจัดการงบประมาณ ประเด็นตรวจราชการที่ 3.3.1 การบริหารจัดการงบประมาณ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 303. ร้อยละของรายการจัดซื้อจัดจ้าง งบลงทุนลงนามในสัญญาได้ ไตรมาส 1 (ร้อยละ 100) 304.ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมในปี 2557 (ไตรมาส 3 ร้อยละ 70)
ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 1.การจัดสรรงบประมาณจากส่วนกลางล่าช้าในช่วงต้นปีงบประมาณ เร่งรัดการเบิกจ่ายและวางแผนจัดซื้อจัดจ้างตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2.ความล่าช้าในการเบิกจ่ายงบประมาณในส่วนรพศ. เร่งรัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณในช่วงไตรมาส 4
ประเด็นตรวจราชการที่ 3.3.2 การบริหารการเงินการคลัง ประเด็นตรวจราชการที่ 3.3.2 การบริหารการเงินการคลัง ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 305. ด้านการเงินมีการจัดทำแผน และดำเนินการตามแผนของเขต/จังหวัด 306. สามารถควบคุมปัญหาทางการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการไม่เกินร้อยละ 10 307.หน่วยบริการมีต้นทุนต่อหน่วยเกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่ม ไม่เกินร้อยละ 20
305. ด้านการเงินมีการจัดทำแผน และดำเนินการตามแผนของเขต/จังหวัด ◊ การบริหารงบประมาณร่วม และควบคุมค่าใช้จ่ายต้นทุนผันแปรลดลง 10% คิดคะแนนภาพรวมได้ร้อยละ 88 306. สามารถควบคุมปัญหาทางการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการไม่เกินร้อยละ 10 ◊ พบ 0 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 0 307.หน่วยบริการมีต้นทุนต่อหน่วยเกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่ม ไม่เกินร้อยละ 20 ◊ ไม่มีการประเมินในรอบนี้
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จ จังหวัดมีการเฝ้าระวังและให้ความช่วยเหลือรพ.ที่ขาดสภาพคล่อง และติดตามปัญหาอย่างใกล้ชิด จังหวัดมีมาตรการพงก.ระดับจังหวัดเพิ่มเติมของเขต เพื่อเฝ้าระวังปัญหาได้รวดเร็วขึ้น ทำให้รพ.ที่มีความเสี่ยงได้ปรับตัวก่อน ผู้บริหารระดับรพ.ตื่นตัวในเรื่องการบริหารการเงินการคลังมากขึ้น
นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง มาตรการพปง.ระดับจังหวัดเพื่อเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหา ระบบกันเงินช่วยเหลือกันในระดับจังหวัด 10 ล้านบาท การช่วยเหลือด้านการเงินการคลังระหว่างกันของรพช. แผนพัฒนางาน CFO ครอบคลุมถึงระดับ รพ.สต. และมีการกันเงินช่วยเหลือรพ.สต.ในปี 2557 จำนวน 4 ล้านบาท
ข้อเสนอแนะ วิเคราะห์วิกฤตการเงิน และติดตามควบคุมรายได้ค่าใช้จ่ายตาม Planfin นำเสนอที่ประชุมผู้บริหารจังหวัดทุกเดือน ติดตามการ Forecast สถานการณ์การเงินการคลังรพ.ทุกแห่งรายไตรมาส จัดทำแผนพัฒนาประสิทธิภาพการเงินการคลังในรพ.ที่วิกฤตระดับ 7 โดยใช้เครื่องมือ Benchmarking data เขต 8 ในการกำหนดเป้าหมายดำเนินการ CFO จังหวัดลงตรวจเยี่ยมรพ.ที่มีวิกฤตระดับ 7 ติดต่อกัน 2 เดือน จังหวัดส่งรพ.เข้าโครงการพัฒนาประสิทธิภาพการเงินการคลัง(พปง.)ระดับเขต กรณีวิกฤตระดับ 7 ติดต่อกัน 3 เดือน
ประเด็นตรวจราชการที่ 3.4 การบริหารยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ประเด็นตรวจราชการที่ 3.4 การบริหารยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 308.ลดต้นทุนของยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ◊ หน่วยบริการมีแผนการบริหารยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ร่วม ร้อยละ 100 ◊ ต้นทุนค่าเวชภัณฑ์ลดลงร้อยละ 10 ◊ ต้นทุนค่าเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยาลดลงร้อยละ 10 ◊ มูลค่าการจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
1.หน่วยบริการมีแผนการบริหารยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ร่วม ร้อยละ 100 ◊ หน่วยบริการมีแผน ร้อยละ 100 2. ต้นทุนเวชภัณฑ์ลดลงร้อยละ 10 ◊ มูลค่าการจัดซื้อลดลงร้อยละ 2.11 3. ต้นทุนเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยาลดลงร้อยละ 10 ◊ มูลค่าการจัดซื้อลดลงร้อยละ 35.79 4. มูลค่าการจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ◊ มูลค่าการจัดซื้อร่วมร้อยละ 32.03
ประเด็นตรวจราชการที่ 3.5 การควบคุมภายใน ประเด็นตรวจราชการที่ 3.5 การควบคุมภายใน ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 309.การจัดระบบควบคุมภายในมีความเหมาะสมตามมาตรฐาน 310.มีการบริหารความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยงอย่างเป็นรูปธรรม
องค์ประกอบ 5 ขั้นตอน
องค์ประกอบ 7 กระบวนงาน การจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิข้าราชการเบิกจ่ายตรง การจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิ UC การควบคุม เก็บรักษา บริหารคลังเวชภัณฑ์และวัสดุ การจัดทำแผนจัดซื้อวัสดุประจำปี การจัดทำแผนปมก.รายได้และควบคุมค่าใช้จ่าย การจัดทำแผนการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ การจัดทำแผนการจัดหางบลงทุน
ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ผู้รับผิดชอบในการจัดทำรายงานระบบควบคุมภายในมีน้อย ทำให้ขาดการเชื่อมโยงและต่อเนื่องของการดำเนินงาน และเกิดความล่าช้า 1.กำหนดให้ทุกกลุ่มงาน/ฝ่ายรับผิดชอบในการจัดทำรายงานการควบคุมภายในให้ชัดเจน และหากมีการโยกย้าย เปลี่ยนงาน ต้องมีการมอบหมายงานไว้อย่างถูกต้อง 2. กำหนดประเด็นการตรวจสอบฯไว้ในแผนงานยุทธศาสตร์ เพื่อให้คณะเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายในดำเนินการติดตามและรายงานผล
ประเด็นตรวจราชการที่ 3.6 การจัดการเรื่องร้องทุกข์ ประเด็นตรวจราชการที่ 3.6 การจัดการเรื่องร้องทุกข์ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 311.ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเรื่องร้องทุกข์
ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 1. การตรวจสอบของอำเภอดำเนินการไม่ครบถ้วนในประเด็นการร้องเรียนและขั้นตอนการตรวจสอบ การให้ความรู้และการเพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ 2. การตรวจสอบข้อเท็จจริง บางกรณีต้องใช้ข้อมูลที่อยู่ในความครอบครองของหน่วยงานอื่นซึ่งจะต้องใช้ระยะเวลาในการรอข้อมูลดังกล่าว ดำเนินการประสานและชี้แจงให้หน่วยงานนั้นๆเห็นความสำคัญ และให้ความร่วมมือในการสอบสวน
ประเด็นตรวจราชการที่ 3.7 การสื่อสารและสารนิเทศ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 312.ประสิทธิภาพในการสื่อสารและสารนิเทศ
ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 1. ระบบเสียงตามสายภายในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยังขาดประสิทธิภาพ ปรับปรุงระบบเสียงตามสาย และระบบห้องบันทึกเสียงให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น 2. บอร์ดประชาสัมพันธ์ไม่พอเพียง และอยู่ในจุดที่ไม่น่าสนใจ เพิ่มจำนวนบอร์ดประชาสัมพันธ์
จบการนำเสนอ