รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Graduate School Khon Kaen University
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การรับเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
“ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และการประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 31 พฤษภาคม 2552.
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
พันจ่านักเรียน รุ่นที่ ๓/๕๖ พื้นที่ พุทธมณฑล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
งานกิจการนิสิต
กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ พ. ศ ( มคอ.) เฉลิม วรา วิทย์
หลัก สูตร คณะ สถาบั น 2 บัณฑิต 3 นักศึกษา 4 อาจารย์องค์ประกอบ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 การผลิตบัณฑิต 2.
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
เรื่อง ปรับแก้ตารางสอน ภาคเรียนที่ 1/2554
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) รศ.ดร.สุคนธ์ชื่น ศรีงาม คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประธานคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร สาขาวิชาในกลุ่มอุตสาหกรรมเกษตร

มาตรฐานการอุดมศึกษา ระดับนโยบาย ระดับการนำไปสู่การปฏิบัติ มาตรฐานคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานการบริหาร จัดการการอุดมศึกษา มาตรฐานการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้ และสังคมแห่งการเรียนรู้ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) มาตรฐานสาขาวิชาที่ 1 มาตรฐาน สาขาวิชาที่ 2 มาตรฐาน สาขาวิชาที่ 3 สถาบันการศึกษาพัฒนาหลักสูตร จากมาตรฐานสาขาวิชา/กรอบมาตรฐาน วางแผนกลยุทธ์การสอน การประเมินผลการเรียนรู้ การทวนสอบ(พิสูจน์)ผลการเรียนรู้ การบริหาร/ประกันคุณภาพหลักสูตร จัดทำรายละเอียดหลักสูตร/รายวิชา/ประสบการณ์ภาคสนาม ดำเนินการตามแผน รายงานผลรายวิชา/ประสบการณ์/หลักสูตร ประเมินผลแล้วปรับปรุงตามผลการประเมิน

การพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร แบบเดิม วัตถุประสงค์ของหลักสูตร กลุ่มเนื้อหาสาระสำคัญ โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ผลการเรียนรู้ กลุ่มเนื้อหาสาระสำคัญ โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา

ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) คืออะไร? ผลการเรียนรู้ หมายถึง สิ่งที่พัฒนาขึ้นในตัวนักศึกษา ทั้งจากการเรียนในห้องเรียน กิจกรรมในและนอกหลักสูตร ปฎิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่น กับอาจารย์ ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัย

ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) ผลการเรียนรู้ ต้องวัดได้ และครอบคลุมถึง สาระความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา ทักษะหรือความสามารถในการนำความรู้ไปใช้ พฤติกรรม ทัศนคติ แนวคิด ความเชื่อ อุปนิสัย สกอ.กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้อย่างน้อย 5 ด้าน (เอกสารแนบท้ายประกาศ คกอ. เรื่องแนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552)

การเรียนรู้ 5 ด้าน (5 Domains of Learning) คุณธรรม จริยธรรม (คิดดี ทำดี รับผิดชอบการกระทำ) ความรู้ (รู้ เข้าใจ อธิบายได้) ทักษะทางปัญญา (ปฏิบัติได้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินได้) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (มนุษยสัมพันธ์ รับผิดชอบการทำงาน/การพัฒนาตนเอง) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (เสริม/สนันสนุนการเรียนรู้ด้านอื่นๆ และการประกอบอาชีพ)

ผลการเรียนรู้ของแต่ละหลักสูตร มาจากไหน? สถานการณ์ภายนอก (เศรษฐกิจ/สังคม) ปรัชญา ปณิธาน ของมหาวิทยาลัย ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ ของหลักสูตร ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (ถ้ายังไม่มีมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา) มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา ซึ่งรวมถึง มาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี) ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตในสาขาวิชา

การถ่ายทอดผลการเรียนรู้ จากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯสู่หลักสูตร กรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯแห่งชาติ มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา หลักสูตร

การถ่ายทอดผลการเรียนรู้ (ความรู้) จากกรอบมาตรฐานฯสู่หลักสูตร (ต่อ) กรอบมาตรฐานฯระดับชาติ มีความรู้ในสาขาวิชาอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ รู้หลักและทฤษฏีที่สัมพันธ์กัน ตระหนักในความรู้และทฤษฏีในสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง ในกรณีที่เป็นโปรแกรมวิชาชีพ จะต้องคุ้นเคยกับความก้าวหน้าทางวิชาการในสายความเชี่ยวชาญ รวมถึงงานวิจัยที่แก้ไขปัญหาและขยายความรู้ ต้องตระหนักถึงกฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิคที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา

การถ่ายทอดผลการเรียนรู้ (ความรู้) จากกรอบมาตรฐานฯสู่หลักสูตร (ต่อ) มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา มีความรู้ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหารอย่างเป็นระบบ รวมทั้งหลักการและทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง ตามกลุ่มเนื้อหาสาระ ดังนี้ 1. ด้านเคมีอาหาร 1.1 เข้าใจทฤษฎีทางเคมีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติและการเปลี่ยนแปลงของอาหาร 1.2 มีความรู้ในการควบคุมปฏิกิริยาทางเคมี

การถ่ายทอดผลการเรียนรู้ (ความรู้) จากกรอบมาตรฐานฯสู่หลักสูตร (ต่อ) มีความรู้..................................... ............................................................. 1.3 สามารถอธิบายปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบอาหาร (เหมือนมาตรฐานผลการเรียนรู้ระดับสาขาวิชา เพิ่มเติมข้อ 1.3 ของเนื้อหาความรู้ด้านเคมีอาหาร ที่เป็นอัตลักษณ์ของหลักสูตรของตนเอง)

การบรรลุผลการเรียนรู้ ของบัณฑิต การดำเนินการหลักสูตร โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา ปัจจัยนำเข้า (input) –นักศึกษา ทรัพยากร (resource) อาจารย์ บุคลากรสนับสนุน ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน กระบวนการเรียนการสอน/การประเมินผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา การบริหารจัดการ และกำกับดูแล การวางแผน ติดตาม ทวนสอบ ประเมิน แก้ไข

การวางแผนหลักสูตร ผลการเรียนรู้ ทั้ง 5 ด้าน (อย่างน้อย) โครงสร้างหลักสูตร และรายวิชา กระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้สู่รายวิชา กลยุทธ์การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้ สำหรับการเรียนรู้แต่ละด้าน การติดตาม ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ประเมินผลการดำเนินการในระดับรายวิชา/หลักสูตร การบริหารจัดการ/การประกันคุณภาพ/การประเมิน การทบทวนผลการดำเนินการและแก้ไขปรับปรุง

เอกสารที่ต้องจัดทำ หลังการวางแผนหลักสูตร รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) และ รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) (ถ้ามี) เอกสาร มคอ.2 .ใช้แทนเอกสารหลักสูตร อนุมัติโดยสภาสถาบัน และเสนอ สกอ.รับทราบภายใน 30 วัน เอกสาร มคอ. 3 และ มคอ.4 เป็นเอกสารภายในของสถาบัน ต้องมีให้ตรวจสอบ

รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) การอธิบายภาพรวมของการจัดหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน ที่จะทำให้บัณฑิตบรรลุผลการเรียนรู้ของหลักสูตร ซึ่งถ่ายทอดมาจากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หรือจากมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา (ถ้ามี) ผลการเรียนรู้ของหลักสูตร ต้องครบถ้วนทั้ง 5 ด้านและไม่ต่ำกว่า มาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ/มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา(ถ้ามี)

รายละเอียดของหลักสูตร ต่างจาก เอกสารหลักสูตรเดิม อย่างไร? คงข้อความของเอกสารหลักสูตรเดิม และแบบ สมอ.01-06 (การวิเคราะห์หลักสูตร) เพิ่มเติมเรื่องผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน และการประเมินผลการเรียนรู้ การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา การพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร การประกันคุณภาพ กระบวนการประเมินและปรับปรุงหลักสูตร จัดข้อมูลเป็น 8 หมวดหมู่

ส่วนประกอบของ รายละเอียดของหลักสูตร หมวดที่ 1. ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2. ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การ ดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร หมวดที่ 4. ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน และการประเมินผลการเรียนรู้ หมวดที่ 5. หลักเกณฑ์ในการประเมินผล หมวดที่ 6. การพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพหลักสูตร หมวดที่ 8. การประเมินและปรับปรุง การดำเนินการหลักสูตร

หมวดที่ 1. ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อหลักสูตร 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา 3. วิชาเอก(ถ้ามี) 4. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ 5.2 ภาษาที่ใช้ 5.3 การรับเข้าศึกษา 5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น 5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา

หมวดที่ 1. ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) 6. สถานภาพของหลักสูตร 7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 8. อาชีพที่ประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา 9. ชื่อ เลขประจำตัวบัตรประชาชน ตำแหน่ง และคุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 10. สถานที่จัดการเรียนการสอน

หมวดที่ 1. ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) 11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จำเป็นต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม 12. ผลกระทบจากข้อ 11 12.1 การพัฒนาหลักสูตร 12.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน 13. ความสัมพันธ์ (ถ้ามี) กับหลักสูตรอื่นในสถาบัน

หมวดที่ 2. ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 2. แผนพัฒนาปรับปรุง 2.1 แผนการพัฒนา / การเปลี่ยนแปลง 2.2 กลยุทธ์ 2.3 หลักฐาน / ตัวชี้วัด

หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบ ทวิภาค 2. การดำเนินการหลักสูตร 2.1 วัน-เวลาในการดำเนินการการเรียน การสอน 2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร (ต่อ) หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร (ต่อ) 2. การดำเนินการหลักสูตร(ต่อ) 2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า 2.4 กลยุทธ์ในการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา/ข้อจำกัดของนักศึกษา 2.5 แผนการรับนักศึกษาและจำนวนผู้สำเร็จ การศึกษาในระยะ 5 ปี 2.6 งบประมาณตามแผน 2.7 ระบบการศึกษา 2.8 การเทียบโอนหน่วยกิตรายวิชา และ การลงทะเบียนข้ามสถาบัน

หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร(ต่อ) หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร(ต่อ) 3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 3.1 หลักสูตร 3.1.1 จำนวนหน่วยกิตรวม 3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร 3.1.3 รายวิชา 3.1.4 แผนการศึกษา 3.1.5 คำอธิบายรายวิชา 3.2 ชื่อ เลขประจำตัวบัตรประจำตัวประชาชน ตำแหน่ง และคุณวุฒิ 3.2.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร 3.2.2 อาจารย์ประจำ 3.2.3 อาจารย์พิเศษ

หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร(ต่อ) 4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม 4.1 มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ ภาคสนาม 4.2 ช่วงเวลา 4.3 การจัดเวลาและตารางสอน 5. ข้อกำหนดเกี่ยวกับการทำโครงงานหรืองานวิจัย 5.1 คำอธิบายโดยย่อ 5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ 5.3 ช่วงเวลา 5.4 จำนวนหน่วยกิต 5.5 การเตรียมการ 5.6 กระบวนการประเมินผล

หมวดที่ 4. ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล 1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา 2. การพัฒนาผลการเรียนรู้แต่ละด้าน 2.1 ผลการเรียนรู้ที่ต้องพัฒนา 2.2 กลยุทธ์การสอน 2.3 กลยุทธ์การประเมินผล 3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum mapping, Curriculum alignment)

หมวดที่ 5. หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา 1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (grade) 2. กระบวนการทวนสอบ (verification) มาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 3. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของหลักสูตร

หมวดที่ 6. การพัฒนาคณาจารย์ 1. การเตรียมการสำหรับอาจารย์ใหม่ 2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์ 2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการการ เรียนการสอน 2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพ อื่นๆ

หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพ หลักสูตร หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพ หลักสูตร 1. การบริหารหลักสูตร 2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน 2.1 การบริหารงบประมาณ 2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยู่เดิม 2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอน เพิ่มเติม 2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร

หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพ หลักสูตร (ต่อ) หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพ หลักสูตร (ต่อ) 3. การบริหารคณาจารย์ 3.1 การรับอาจารย์ใหม่ 3.2 การมีส่วนร่วมของคณาจารย์ในการ วางแผน การติดตาม และทบทวน หลักสูตร 3.3 การแต่งตั้งคณาจารย์พิเศษ

หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพ หลักสูตร (ต่อ) หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพ หลักสูตร (ต่อ) 4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน 4.1 การกำหนดคุณสมบัติเฉพาะ สำหรับตำแหน่ง 4.2 การเพิ่มทักษะความรู้สำหรับการ ปฏิบัติงาน

หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพ หลักสูตร (ต่อ) หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพ หลักสูตร (ต่อ) 5. การสนับสนุนและให้คำแนะนำแก่นักศึกษา 5.1 การให้คำปรึกษาด้านวิชาการ และอื่นๆ แก่นักศึกษา 5.2 การอุทธรณ์ของนักศึกษา

หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพ หลักสูตร (ต่อ) หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพ หลักสูตร (ต่อ) 6. ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือ ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต 7. ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (อย่างน้อย 12 ตัว ตามที่ สกอ.กำหนดในการประกันคุณภาพหลักสูตร)

หมวดที่ 8. การประเมินและ ปรับปรุงการดำเนินการของหลักสูตร 1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 1.1 การประเมินกลยุทธ์การสอน 1.2 การประเมินทักษะของอาจารย์ในการ ใช้กลยุทธ์การสอน

หมวดที่ 8. การประเมินและ ปรับปรุงการดำเนินการของหลักสูตร(ต่อ) 2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 3. การประเมินผลการดำเนินงานตามที่กำหนดในรายละเอียดหลักสูตร 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง

บทสรุป รายละเอียดของหลักสูตร เป็นส่วนหนึ่งของกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านมาตรฐานคุณภาพบัณฑิต ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของชาติและมาตรฐานคุณวุฒิของสาขาวิชา(ถ้ามี) เป็นแผนการดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ที่คณาจารย์ทุกคนมีส่วนร่วม เป็นคำมั่นสัญญาที่สถาบันการศึกษาให้กับสังคม

คำถาม?