กระบวนการทำวิจัย เผยแพร่ผลงาน สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร บทความวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
Thesis รุ่น 1.
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต เทคโนโลยีทางอาหาร
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Management Information Systems
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์
ยินดีต้อนรับ คณะผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ร่วมพิจารณา ร่างหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 27 กรกฎาคม.
นำเสนอหนังสือวิชาการ
ประสบการณ์และคุณค่าแห่งการทำงานร่วมกัน
ชื่อตัวบ่งชี้ 3.3 : มีการนำความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและ วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน คณะฯ ยังขาดการรวบรวม.
ชื่อตัวบ่งชี้ 1.3 : เงินเดือนเริ่มต้นของบัณฑิต ( ปริญญาตรี ) 1. จุดอ่อน 1. คณะฯยังไม่มีการจัดทำฐานข้อมูลเงินเดือนของ บัณฑิต 2. คณะฯยังขาดหลักคิดที่สมบูรณ์ในการเทียบ.
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเขียนรายงานการวิจัย
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
รูปแบบของการรายงานผลการ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2549/ ปีงบประมาณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน 2. ข้อมูลของคณะ / หน่วยงาน ( โดยสังเขป ) 3.
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
กระบวนการวิจัย Process of Research
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
การเขียนข้อเสนอโครงการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
ชื่อนักวิจัย / ผู้ดำเนินงาน งบประมาณได้รับสนับสนุน บาท เบิกจ่ายแล้ว บาท ชื่อโครงการ สังกัดพื้นที่ คณะ สาขา รายงาความก้าวหน้าโครงการวิจัยและบริการ.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำอธิบายรายวิชา.
หลัก สูตร คณะ สถาบั น 2 บัณฑิต 3 นักศึกษา 4 อาจารย์องค์ประกอบ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 การผลิตบัณฑิต 2.
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการทำวิจัย เผยแพร่ผลงาน สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร บทความวิจัย รายงานวิจัย หน้าข่าว … กำหนดหัวข้อ ทบทวน กำหนดประเด็น กำหนดกรอบแนวคิด กำหนดวิธี ดำเนินวิจัย วิเคราะห์&สรุป เผยแพร่ผลงาน ข้อเสนอโครงร่าง, ข้อเสนอ โครงการวิจัย

เครื่องมือสำคัญ ฐานข้อมูลวิชาการ และ search engine การกำหนดหัวข้อ ศึกษา เลือก วิเคราะห์ เครื่องมือสำคัญ ฐานข้อมูลวิชาการ และ search engine

การวิเคราะห์

การกำหนด/เลือกประเด็นปัญหาและการกำหนดกรอบแนวคิดงานวิจัย ตั้งคำถามง่ายๆในปัญหาที่สนใจให้ กระชับ รัดกุม โดยเริ่มด้วยคำถามเช่น หรือไม่ ทำไม อย่างไร อะไร การตั้งคำถามจะกำหนดกรอบแนวคิดและบ่งชี้ถึงถึงมิติของปัญหา การค้นหาคำตอบของคำถามนั้นคือประเด็นงานวิจัยของเราที่ต้องแสวงหาคำตอบ เลือกประเด็นปัญหาให้เหมาะสมโดยวิเคราะห์ (SWOT) ประเด็นที่เลือกเป็นที่สนใจ (hot topic, emerging technology, cutting-edge technology) มีความทันสมัย และมีประโยชน์

การกำหนดวิธีการวิจัย การกำหนดแนวคิด การทดสอบแนวคิด การออกแบบเชิงระบบ การทดสอบเชิงระบบ การออกแบบระบบย่อย การทดสอบระบบย่อย การบูรณาการระบบ การทดสอบระบบ

กรณีศึกษา (1) กำหนดหัวข้อ วิเคราะห์ ปัญหาเรียนอ่อนของนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ ป ตรี วิเคราะห์ เราเหมาะสมกับปัญหานี้หรือไม่อย่างไร จุดแข็ง มีความรู้ประสบการณ์กับงาน, เป็นปัญหาในภารกิจหน้าที่ จุดอ่อน มีประสบการณ์การทำงานวิจัยทางสังคมศาสตร์น้อย โอกาส คณะ/มหาวิทยาลัยมีกลไกสนับสนุน, มีเจ้าหน้าที่หน่วยงานสนับสนุน อุปสรรค มีผู้เผยแพร่งานวิจัยนี้มาก่อน, มีข้อมูลสนับสนุนน้อย

กรณีศึกษา (2) ทบทวน กำหนด keywords สำคัญ เรียนอ่อน, ปริญญาตรี, วิศวกรรมศาสตร์, คะแนนสะสม ผลการค้นหา keywords ด้วย search engine

กรณีศึกษา (3) การกำหนดประเด็นปัญหา สาเหตุที่น่าจะเป็นต้นตอ คุณภาพนักศึกษาเข้าคณะไม่ดี กระบวนการเรียนการสอนมีปัญหา ตีกรอบปัญหาให้แคบลง โดยอาจกำหนดประเด็น “นักศึกษาเรียนอ่อนเพราะมีปัญหาในวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในปีการศึกษาแรก ”

กรณีศึกษา (4) กำหนดกรอบแนวคิดงานวิจัย เรียนอ่อนหมายถึงนักศึกษาที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมน้อยกว่า 2.00 นักศึกษาหมายถึงนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์เฉพาะปี 1 รายวิชาพื้นฐานทางวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ปี 1 ได้แก่ วิชา คณิตศาสตร์กายภาพ 1,2 ฟิสิกส์ 1 2 และปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 และ 2 เคมีพื้นฐาน และ ปฏิบัติการเคมีพื้นฐาน 1 การทดลองควรต้องควบคุมคุณภาพนักศึกษาที่วิเคราะห์ จำนวนนักศึกษาและจำนวนปีในการทดลองต้องมีจำนวนมากพอและน่าเชื่อถือทางสถิติ

กรณีศึกษา (5) ประเด็นปัญหาที่ตีกรอบ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ปี 1 ที่คะแนนสะสมเฉลี่ยต่ำกว่า 2.00 เนื่องจากคะแนนเฉลี่ยรายวิชา คณิตศาสตร์(1,2) ฟิสิกส์และปฏิบัติการฟิสิกส์ (1,2) และ วิชาเคมีและปฏิบัติการเคมี ต่ำกว่า 2.00 ผลลัพธ์ของงาน ปัญหาการเรียนอ่อนมาจากปัญหาวิชาพื้นฐานมากน้อยเพียงใด ผลผลิตของงาน ข้อมูลเพื่อดำเนินการทางนโยบาย