กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับ การออกและเสนอขายหลักทรัพย์ ของบริษัทจดทะเบียน คุณสมบูรณ์ อาทรสมบัติ ฝ่ายจดทะเบียนหลักทรัพย์ สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2553
วัตถุประสงค์ เข้าใจในกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการออก และเสนอขายหลักทรัพย์ 2. มีการดำรงคุณสมบัติที่สำคัญได้อย่างถูกต้อง 3. มีความพร้อมเมื่อต้องการออกและ เสนอขายหลักทรัพย์
หัวข้อในการบรรยาย คุณสมบัติที่ต้องดำรงไว้ หากต้องการเสนอขาย หลักทรัพย์ต่อประชาชน โครงสร้างการถือหุ้น (หุ้นไขว้) คุณสมบัติกรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ conflict of interest การเสนอขายหุ้นราคาต่ำ เกณฑ์การอนุญาต วิธีการคำนวณราคาเสนอขาย / dilution
หัวข้อในการบรรยาย (ต่อ) การเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น (warrant) การเสนอขาย PO warrant การเสนอขาย RO warrant การเสนอขาย PP warrant กรณีราคาไม่ต่ำ การปรับสิทธิ warrant การเสนอขายใบแสดงสิทธิในการซื้อหุ้น เพิ่มทุนที่โอนสิทธิได้ (TSR)
หัวข้อในการบรรยาย (ต่อ) การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อกรรมการ/ พนักงาน (ESOP) โครงการร่วมทุนระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ของบริษัทจดทะเบียน (Employee Joint Investment Program- EJIP) การขายหุ้นที่มีลักษณะการ Spin-off การเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ พร้อมกับการทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์เดิม เพื่อปรับโครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ
คุณสมบัติที่ต้องดำรงไว้ หากต้องการเสนอขายหลักทรัพย์ ต่อประชาชน โครงสร้างการถือหุ้น (หุ้นไขว้) คุณสมบัติกรรมการอิสระ/กรรมการ ตรวจสอบ conflict of interest 6
คุณสมบัติที่ต้องดำรงไว้ หากต้องการ เสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน มีโครงสร้างการถือหุ้นที่ชัดเจนและเป็นธรรม ตาม ประกาศที่ ทจ. 28/2551 ข้อ 11 (1)(ก) - สะท้อนอำนาจการควบคุม/ส่วนได้เสียชัดเจน - ไม่มีการถือหุ้นไขว้ (cross holding) Listed A B 75% 55% โครงสร้าง ? ส่วนได้เสีย ? 7
คุณสมบัติที่ต้องดำรงไว้ หากต้องการ เสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน หลักการ การถือหุ้นไขว้ อาจทำให้เกิดทุนเทียม โครงสร้างไม่ชัดเจน พิจารณาส่วนได้เสียยาก ห้ามถือหุ้นไขว้ 1.1 หากถือ > 50% 1.2 บ.ย่อย ห้ามถือหุ้นไขว้ ระหว่างกัน Issuer A > 50% A Issuer > 50% Issuer บ.ย่อย บ.ย่อย
คุณสมบัติที่ต้องดำรงไว้ หากต้องการ เสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน 2. อาจถือหุ้นไขว้ได้ หากถือหุ้นกันไม่ถึงระดับที่สามารถควบคุมกิจการได้ 2.1 หากถือ ≤ 50% ถือหุ้นไขว้กลับได้ ≤ 10% 2.2 หากถือ ≤ 25% ถือหุ้นไขว้กลับได้ ≤ 25% Issuer A 25%<x≤50% ≤10% A Issuer 25%<x≤50% ≤10% Issuer A ≤25%
คุณสมบัติที่ต้องดำรงไว้ หากต้องการ เสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน การถือหุ้นไขว้ (cross holding) ต่อ ทั้งนี้ ให้นับรวม (1) การถือหุ้นทางตรงและทางอ้อมที่มีการถือหุ้น ทุกทอดตลอดสาย > 25% และ (2) การถือหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่ บรรลุนิติภาวะ 3. ผ่อนผันการถือหุ้นไขว้ได้ในกรณีต่อไปนี้ 3.1 มีกลุ่มผู้ถือหุ้นอื่น ถือหุ้นมากกว่าซึ่ง คานอำนาจได้ 3.2 มีเหตุจำเป็นสมควร ไม่ก่อให้เกิดความ ไม่เป็นธรรมต่อผู้ถือหุ้น
เกณฑ์การถือหุ้นไขว้ ? ? ตัวอย่าง 1 ตัวอย่าง 2 Issuer Issuer ตัวอย่าง 1 ตัวอย่าง 2 นิติบุคคล A นิติบุคคล B 51% ? ? 31% Issuer Issuer 11
เกณฑ์การถือหุ้นไขว้ ? ? ตัวอย่าง 3 ตัวอย่าง 4 Issuer Issuer ตัวอย่าง 3 ตัวอย่าง 4 นิติบุคคล E Issuer 21% Issuer ? 51% 51% 20% นิติบุคคล C นิติบุคคล D ? 12
เกณฑ์การถือหุ้นไขว้ ? ? ตัวอย่าง 5 Issuer Issuer นิติบุคคล A นิติบุคคล B 30% 15% นิติบุคคล B 15% +20% = 35% ? 20% ? Issuer Issuer 13
คุณสมบัติกรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ จำนวน ≥ 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทั้งหมด แต่ต้อง ไม่น้อยกว่า 3 คน ถือหุ้นไม่เกิน 1% ของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกสียง ห้ามเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำ ผู้มีอำนาจควบคุม ในช่วง 2 ปี ก่อนหน้า ผ่อนปรน ในกรณีที่เคยเป็นข้าราชการหรือที่ปรึกษาของ ส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่หรือผู้มีอำนาจควบคุม 4. ห้ามเป็นบุคคลทางสายโลหิตหรือโดยการจดทะเบียนตาม กฎหมายกับกรรมการหรือผู้บริหาร 5. ห้ามทำธุรกรรมกับบริษัทมูลค่ารายการ ≥ 20 ลบ. หรือ 3% ของ NTA แล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่าในช่วง 2 ปีก่อนหน้า 14
คุณสมบัติ ID & AC (ต่อ) 6. ห้ามเป็นผู้สอบบัญชี ในช่วง 2 ปี ก่อนหน้า 7. ห้ามเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพอื่นที่มีการบริการ เกิน 2 ลบ. ในช่วง 2 ปี ก่อนหน้า 8.ไม่เป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 9. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันกันกับบริษัท & บ.ย่อย หรือถือหุ้นเกิน 1% หรือ เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำ ผู้มีอำนาจควบคุม ในกิจการดังกล่าว ** กรณีบุคคลตามข้อ 5 และข้อ 7 จะดำรงตำแหน่งได้ ก็ต่อเมื่อคณะกรรมการบริษัทแสดงได้ว่าได้พิจารณาตามหลักมาตรา 89/7 ว่าไม่มีผลกระทบต่อการทำหน้าที่และให้ความเห็นที่เป็นอิสระ และต้องเปิดเผยข้อมูลที่กำหนดในหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น 15
คุณสมบัติ ID & AC (ต่อ) 10. ไม่มีลักษณะอื่นที่ทำให้ไม่สามารถให้ความเห็น อย่างเป็นอิสระ 11. ID เป็น ID ของบริษัทในกลุ่มได้ แต่ AC ห้ามเป็น กรรมการของ บ.ใหญ่ บ.ย่อย หรือ บ.ย่อยลำดับเดียวกัน (บ.พี่น้อง) ที่เป็น listed co. 12. ID สามารถมีส่วนร่วมตัดสินใจในการดำเนินงาน (collective decision) ของ บ.ใหญ่ บ.ย่อย บ.พี่น้อง หรือ บ.ร่วม แต่ AC ห้ามมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ในการดำเนินงาน 16
คุณสมบัติ ID & AC (ต่อ) การกำหนดใช้คุณสมบัติกรรมการอิสระ เฉพาะเรื่อง การกำหนดใช้คุณสมบัติกรรมการอิสระ เฉพาะเรื่อง จำนวน ≥ 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทั้งหมด เป็น AGM ปี 2553 ข้อห้ามเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำ หรือผู้มีอำนาจควบคุม ในช่วง 2 ปี ก่อนหน้า เริ่มใช้ AGM ปี 2554 ห้ามเป็นผู้สอบบัญชีหรือผู้ให้บริการทางวิชาชีพอื่นที่มีค่าบริการเกิน 2 ลบ. ในช่วง 2 ปี ก่อนหน้า เริ่มใช้ AGM ปี 2554 ห้ามทำธุรกรรมกับบริษัทมูลค่ารายการเกิน 20 ลบ. หรือ 3% ของ NTA แล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่า ในช่วง 2 ปีก่อนหน้า เริ่มใช้ AGM ปี 2554 17
คุณสมบัติ ID & AC (ต่อ) เกณฑ์คุณสมบัติกรรมการตรวจสอบ (AC) ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการ หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น มีจำนวนอย่างน้อย 3 คน ต้องเป็นกรรมการอิสระ มีหน้าที่ตามประกาศตลาดหลักทรัพย์ฯ กำหนด มีความรู้ ความสามารถ อย่างน้อย 1 คน ทำหน้าที่สอบทาน ความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้ 18
คุณสมบัติ ID & AC - ตัวอย่าง ตัวอย่าง1 การแต่งตั้งกรรมการอิสระให้ครบตามเกณฑ์ คำถาม บริษัทจดทะเบียน A มีคณะกรรมการทั้งหมด 11 คน ปัจจุบันมีกรรมการอิสระอยู่ 3 คน บริษัทจดทะเบียน A มีคุณสมบัติตามเกณฑ์กรรมการอิสระหรือไม่ และมีแนวทางในการทำให้เป็นไปตามเกณฑ์ได้อย่างไร คำตอบ วิธีที่ 1 ตั้งกรรมการอิสระจากกรรมการเดิม 1 คน => กก.อิสระ 4 คน จาก กรรมการ 11 คน วิธีที่ 2 แต่งตั้งกรรมการใหม่เป็นกรรมการอิสระ 1 คน => กก.อิสระ 4 คน จาก กรรมการ 12 คน 19
คุณสมบัติ ID & AC - ตัวอย่าง ตัวอย่าง 2 คุณสมบัติของกรรมการอิสระ บริษัทจดทะเบียน A ทำธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ประเภท ที่พักอาศัยในกรุงเทพ โดยในปี 2552 มีรายได้รวม 500 ล้านบาท นายเก่งมาก เป็นผู้ที่มีความสามารถในธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ และมีบริษัทส่วนตัวที่ทำธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ ประเภทที่อยู่อาศัยในต่างจังหวัด โดยในปี 2552 มีรายได้ 100 ล้านบาท คำถาม บริษัทจดทะเบียน A สามารถแต่งตั้งนายเก่งมากเป็นกรรมการอิสระได้หรือไม่ 20
คุณสมบัติ ID & AC - ตัวอย่าง ตัวอย่าง 2 คุณสมบัติของกรรมการอิสระ (ต่อ) คำถาม บริษัทจดทะเบียน A สามารถแต่งตั้งนายเก่งมากเป็นกรรมการอิสระได้หรือไม่ คำตอบ - นายเก่งมากถือหุ้นในบริษัทที่อาจแข่งขัน แม้ทำเล จะแตกต่างกัน - รายได้ธุรกิจนายเก่งมาก = 100/500 = 20% ดังนั้น นายเก่งมากเป็นกรรมการอิสระของบริษัทจดทะเบียน A ไม่ได้ 21
บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (conflict of interest) ไม่มีบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ถือหุ้นในบริษัทย่อย บริษัทร่วม เกิน 10% บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง คือ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำนาจควบคุม รวมผู้ที่เกี่ยวข้องของบุคคลดังกล่าวทั้งหมด (บิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง บุตร หรือคู่สมรสของบุตร และนิติบุคคลที่บุคคลดังกล่าวมีหุ้น หรือมีอำนาจควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ) ยกเว้นการมีโครงสร้างดังกล่าวเป็นไปเพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของผู้ขออนุญาต listed co. บ.ย่อย บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง
ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (conflict of interest) ตัวอย่างความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บุคคลที่มีความขัดแย้งทำธุรกิจแข่งขันกับบริษัท หากมีโอกาสเกิด RPT มีมาตรการป้องกัน conflict ที่ไม่เพียงพอ 23
ตัวอย่างความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ตัวอย่าง บริษัทจดทะเบียนทำธุรกิจเหมือนหรือแข่ง กับผู้มีอำนาจหรือผู้มีอิทธิพลในบริษัทจดทะเบียน ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม Mr. A ถือหุ้น 30% เป็นผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น รายย่อย Mr. A ถือหุ้น 90% เป็นผู้บริหาร บริษัท ก จำกัด บมจ. ข ธุรกิจเหมือนหรือแข่ง
ตัวอย่างความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ตัวอย่าง บริษัทจดทะเบียนทำรายการ (ซื้อ/ขายสินค้า ซื้อ/ขายสินทรัพย์ เช่า/ให้เช่า กู้/ให้กู้) ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม กับผู้มีอำนาจหรือผู้มีอิทธิพลในบริษัทจดทะเบียน Mr. A ถือหุ้น 30% เป็นผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น รายย่อย Mr. A ถือหุ้น 90% เป็นผู้บริหาร บริษัท ก จำกัด บมจ. ข ทำรายการ
ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ แนวทางแก้ไขความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การทำรายการระหว่างกัน การประกอบธุรกิจแข่งขัน การแก้ไข ต้องมีราคาตลาดอ้างอิง ทำสัญญา/นโยบายที่ชัดเจน กำหนดเงื่อนไขรายการที่เป็นธรรม มีผู้ถือหุ้นกลุ่มอื่นที่สามารถคานอำนาจได้ ตรวจสอบการปฏิบัติจริง ทบทวนความเหมาะสมอยู่เสมอ การแยกลูกค้าเป้าหมาย หรือตลาดอย่างชัดเจน ผู้ถือหุ้นใหญ่มี interest ในบริษัทจดทะเบียนมากกว่าบริษัทส่วนตัว
ตัวอย่างความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ตัวอย่าง : ทำธุรกิจกับผู้ที่เกี่ยวข้อง ข้อสังเกต บมจ. Main Contractor ส่งงาน > 90% ให้ บจ. Subcontractor ซึ่งคิดเป็น 100% ของงานในมือของ บจ.Subcontractor และมีเงื่อนไขการค้าที่ผิดปกติ ดังนี้ - ไม่มีการเรียกเงินค้ำประกันฯ เหมือนคู่ค้าอื่น - จ่าย advance เงินเป็นจำนวนมาก อย่างผิดปกติ - ไม่มีราคาตลาดเทียบเคียง เนื่องจาก เป็นงานก่อสร้าง แบบ made to order - ผู้ถือหุ้นของ บจ. Subcontract เป็นญาติสนิทกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ listed บมจ. Main Contractor ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน ทั้งการถือหุ้น / กรรมการร่วมกัน บจ. Subcontractor
2. การออกและเสนอขาย หุ้นราคาต่ำ หลักการ การขายหุ้นราคาต่ำ เกิดผลกระทบ dilution ต่อผู้ถือหุ้น การเสนอขายต้องสมเหตุสมผล มีกระบวนการที่ให้ผู้ถือหุ้น ซึ่งได้รับผลกระทบ จาก dilution มีส่วนในการพิจารณา 28
เกณฑ์อนุญาต - หุ้นราคาต่ำ กรณีบริษัทจดทะเบียน เสนอขายหุ้นหรือหลักทรัพย์ แปลงสภาพ โดยราคาเสนอขาย ต่ำกว่า 90% ของราคาตลาด เฉพาะกรณีเสนอขายต่อบุคคลที่กำหนด (placement) ไม่ว่าจะขายในวงจำกัดหรือวงกว้าง (*) หลักทรัพย์แปลงสภาพ ได้แก่ CD warrant 29
เกณฑ์อนุญาต - หุ้นราคาต่ำ การคำนวณราคาหุ้นที่เสนอขาย - หุ้น : ราคาเสนอขาย - CD : ราคาเสนอขาย CD หารอัตราแปลงสภาพ - Warrant : ราคาเสนอขาย + ราคาใช้สิทธิ - หุ้นควบ warrant : (มูลค่าเสนอขายหุ้น + มูลค่าเสนอขาย warrant + มูลค่าหุ้นรองรับตาม ราคาใช้สิทธิ) หารด้วย (จำนวนหุ้นที่เสนอขาย+จำนวนหุ้นรองรับ) 30
เกณฑ์อนุญาต - หุ้นราคาต่ำ นิยามราคาตลาด ให้ใช้ราคาใดราคาหนึ่งดังนี้ 1. ราคาถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (ราคาปิดหรือราคาเฉลี่ยของ การซื้อขาย) ย้อนหลัง 7 – 15 วันทำการติดต่อกัน ก่อนวันกำหนดราคาเสนอขาย โดยวันกำหนดราคา เสนอขายได้แก่วันใดวันหนึ่งที่กำหนดโดยมติบอร์ด ก. วันที่บอร์ดมีมติ ข. วันที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติ ค. วันแรกที่เสนอขายต่อผู้ลงทุน ง. วันที่ผู้ลงทุนมีสิทธิ exercise ตาม CD/warrant 2. ราคาที่ผ่านการวิเคราะห์ demand/supply เช่น book build 3. ราคายุติธรรมที่ประเมินโดย FA 31
เกณฑ์อนุญาต - หุ้นราคาต่ำ การเสนอขาย PO Placement ราคาต่ำ - เกณฑ์อนุญาต เช่นเดียวกับการเสนอขาย PO หุ้น / CD / warrant แล้วแต่กรณี - ต้องปฏิบัติตามเกณฑ์คุ้มครองผู้ถือหุ้น (หนังสือเชิญประชุม มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิ veto) 32
เกณฑ์อนุญาต - หุ้นราคาต่ำ การเสนอขาย PP ราคาต่ำ - ไม่ต้องยื่นคำขออนุญาต และไม่ต้องยื่น filing แต่ต้องปฏิบัติตาม 1. เกณฑ์คุ้มครองผู้ถือหุ้น 2. เงื่อนไขการอนุญาต PP เช่นเดียวกับ การเสนอขาย PP หุ้น / CD / warrant แล้วแต่กรณี 3. มติผู้ถือหุ้นมีอายุ 1 ปี 4. ส่ง checklist ให้ สนง. พร้อมรายงาน ผลการขายภายใน 15 วัน 33
เกณฑ์อนุญาต - หุ้นราคาต่ำ เกณฑ์การคุ้มครองผู้ถือหุ้น ก. หนังสือเชิญประชุม 1. ส่งล่วงหน้า 14 วัน 2. มีข้อมูลที่เพียงพอ อย่างน้อยในเรื่อง - วัตถุประสงค์ - ความจำเป็นที่ต้องเสนอขายราคาต่ำ - ราคาเสนอขาย/ราคาใช้สิทธิ - ราคาตลาดที่ใช้เปรียบเทียบ - dilution - ความเห็นบอร์ดถึงความจำเป็น/ความเหมาะสมของ ราคาตลาดที่ใช้และการกำหนดราคาเสนอขาย 3. กรณี fixed price ระบุกลุ่มบุคคลที่คาดว่าจะเสนอขาย 4. สิทธิ veto 5. หนังสือมอบฉันทะ + ข้อมูลกรรมการอิสระ 34
เกณฑ์อนุญาต - หุ้นราคาต่ำ การคุ้มครองผู้ถือหุ้น ข. การขอมติ 1. ได้รับมติ 3 ใน 4 ของจำนวนเสียงของผู้ถือหุ้น ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง 2. veto ไม่เกิน 10% ของจำนวนเสียงของ ผู้ถือหุ้นที่มาประชุม 35
การคำนวณ dilution จำนวนหุ้นที่เสนอขายในครั้งนี้ control dilution = จำนวนหุ้นที่จำหน่ายแล้วทั้งหมด + จำนวนหุ้นที่เสนอขายในครั้งนี้ price dilution = ราคาตลาด – ราคาตลาดหลัง diluted ราคาตลาด ราคาตลาด หลัง diluted = (จำนวนหุ้น paid-up x ราคาตลาด) + (จำนวนหุ้นที่เสนอขายครั้งนี้ x ราคาเสนอขาย) จำนวนหุ้น paid-up + จำนวนหุ้นที่เสนอขายครั้งนี้ 36
หุ้นราคาต่ำ - ตัวอย่าง ตัวอย่าง 1 บริษัทจดทะเบียน A จะขายหุ้น 100 ล้านหุ้น ควบไปกับwarrant 100 ล้านหน่วย หุ้นจำหน่ายแล้วทั้งหมดมี 1,000 ล้านหุ้น ราคาขายหุ้นละ 5 บาท (ราคาตลาด คือ ราคาเฉลี่ย 7 วัน ก่อนประชุมคณะกรรมการ = 6 บาท) ราคาขาย warrant 0.5 บาท อัตราการใช้สิทธิ 2 w ต่อ 1 หุ้น ราคา 3.50 บาท 37
หุ้นราคาต่ำ - ตัวอย่าง ตัวอย่าง 1 (ต่อ) คำถาม 1 การขายหุ้นดังกล่าวเป็นราคาต่ำหรือไม่ คำตอบ สูตรกรณีขายหุ้น+warrant = (PsQs)+(PwQw)+(EpQx) Qs+Qx Ps = ราคาเสนอขายหุ้น Qs = จำนวนหุ้นที่เสนอขายควบคู่ไปกับ warrant Pw = ราคาเสนอขาย warrant Qw = จำนวน warrant ที่เสนอขายควบคู่ไปกับหุ้น Ep = ราคาใช้สิทธิที่จะซื้อหุ้นตาม warrant Qx = จำนวนหุ้นที่จะได้รับจากการใช้สิทธิที่จะซื้อหุ้นตาม Qw 38
หุ้นราคาต่ำ - ตัวอย่าง ตัวอย่าง 1 (ต่อ) คำถาม 1 การขายหุ้นดังกล่าวเป็นราคาต่ำหรือไม่ คำตอบ สูตรกรณีขายหุ้น+warrant = (PsQs)+(PwQw)+(EpQx) Qs+Qx Ps = 5 บาท Pw = 0.50 บาท Ep = 3.50 บาท Qs = 100 ล้านหุ้น Qw = 100 ล้านหุ้น Qx = 50 ล้านหุ้น (2 หน่วย : 1 หุ้น) ราคาขายหุ้น+warrant = 4.83 บาท (ต่ำกว่า 6 บาท เกิน 10%) ดังนั้น การขายหุ้นดังกล่าวเป็นราคาต่ำ 39
หุ้นราคาต่ำ - ตัวอย่าง คำถาม 2 Dilution ที่เปิดเผยในหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น คำตอบ control dilution = จำนวนหุ้นที่เสนอขายในครั้งนี้ + จำนวนหุ้นรองรับ w จำนวนหุ้น paid-up+จำนวนหุ้นที่เสนอขายครั้งนี้+ จำนวนหุ้นรองรับ w = 150/(1000+150) = 13.04% price dilution = ราคาตลาด - ราคาตลาดหลังเสนอขาย ราคาตลาด ราคาตลาดหลังเสนอขาย = (ราคาตลาด*จำนวนหุ้น paid-up)+(PsQs)+(PwQw)+(EpQx) จำนวนหุ้น paid-up + Qs + Qx = (6*1000)+(5*100)+(0.5*100)+(3.5*50) = 5.85 1000+100+50 ดังนั้น price dilution = 6.0-5.85 = 2.50% 6 40
3. ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น(Warrant) PO warrant RO warrant PP warrant กรณีราคาไม่ต่ำ การปรับสิทธิ warrant 41
เกณฑ์การอนุญาต - Warrant การเสนอขาย PO warrant 1. บมจ.ที่จัดตั้งตามกฎหมายไทย 2. คุณสมบัติตามเกณฑ์การอนุญาตหุ้น 3. ลักษณะ warrant - ข้อกำหนด warrant - จำนวนหุ้นรองรับ - ข้อกำหนดสิทธิ 4. มีมาตรการคุ้มครอง/รักษาสิทธิของผู้ถือหุ้น และมติผู้ถือหุ้นมีอายุ 1 ปี 42
เกณฑ์การอนุญาต - Warrant การเสนอขาย PO warrant (ต่อ) ข้อกำหนด warrant - อายุไม่เกิน 10 ปี - หุ้นรองรับเป็นหุ้นใหม่ของบริษัท - กำหนดราคาและอัตราการใช้สิทธิแน่นอน - ระยะเวลาการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย ไม่น้อยกว่า 15 วัน จำนวนหุ้นรองรับไม่เกิน 50%ของหุ้นที่จดทะเบียนชำระแล้ว = หุ้นรองรับ CD และ warrant (เดิม+ครั้งนี้) ไม่รวม ESOP หุ้นที่จดทะเบียนชำระแล้ว+หุ้นที่ขายควบ warrant ครั้งนี้ 43
เกณฑ์การอนุญาต - Warrant การเสนอขาย PO warrant (ต่อ) ข้อกำหนดสิทธิมีรายการ (1) รายละเอียด อายุ ราคา อัตราและวิธีการใช้สิทธิ (2) สาเหตุ เงื่อนไข ในการแก้ไขเพิ่มเติมข้อกำหนด ของ warrant (3) ค่าเสียหายไม่ต่ำกว่าส่วนต่างระหว่างราคาตลาด ของหุ้น ณ วันที่ใช้สิทธิกับราคาใช้สิทธิ 44
เกณฑ์การอนุญาต - Warrant การเสนอขาย PO warrant (ต่อ) ข้อกำหนดสิทธิมีรายการ (ต่อ) (4) มาตรการคุ้มครองผู้ถือ warrant (4.1) Callable warrant - กำหนดเหตุที่บริษัทจะใช้สิทธิ call อย่างชัดเจน และอยู่นอกเหนือการควบคุมของบุคคลใด ๆ - บริษัทต้องเรียกใช้สิทธิเมื่อเกิดเงื่อนไข call - มีมาตรการให้ผู้ลงทุนในทอดต่อไปทราบเงื่อนไข call (4.2) การปรับสิทธิ - เปลี่ยน par เนื่องจากรวมหุ้น/แยกหุ้น - เสนอขายหุ้น/CD/warrant ที่ออกใหม่ในราคาต่ำ - จ่ายปันผลเป็นหุ้นออกใหม่ /จ่ายเกินอัตรากำหนด 45
เกณฑ์การอนุญาต - Warrant การเสนอขาย PO warrant (ต่อ) มาตรการคุ้มครอง/รักษาสิทธิผู้ถือหุ้น 1. หนังสือนัดประชุม 1.1 ราคาหรืออัตราการใช้สิทธิ /ระยะเวลา การใช้สิทธิ วันสิ้นสุดการใช้สิทธิ วิธีการจัดสรร 1.2 dilution effect 2. มติที่ประชุมให้ออกหุ้นรองรับอย่างเพียงพอ 3. กรณีเป็นการเสนอขาย PO placement และ ราคาเสนอขายเข้าข่ายราคาต่ำ ต้องปฏิบัติตามเกณฑ์ หุ้นราคาต่ำ 46
การคำนวณ dilution จำนวนหุ้นรองรับครั้งนี้ control dilution = price จำนวนหุ้นที่จำหน่ายแล้วทั้งหมด + จำนวนหุ้นรองรับครั้งนี้ price dilution = ราคาตลาด – ราคาตลาดหลัง dilute ราคาตลาด ราคาตลาด หลัง dilute = (จำนวนหุ้น paid-up x ราคาตลาด) + (จำนวนหุ้นรองรับครั้งนี้ x ราคาใช้สิทธิ) จำนวนหุ้น paid-up + จำนวนหุ้นรองรับครั้งนี้ 47
เกณฑ์การอนุญาต - Warrant การเสนอขาย RO warrant 1. ใช้บังคับกับบริษัทจดทะเบียน และ บมจ. ที่มีหน้าที่ ตาม ม. 56 2. ไม่ต้องขออนุญาตและไม่ต้องยื่น filing แต่ต้องปฏิบัติ ตามเงื่อนไขอนุญาต ได้แก่ - ลักษณะ warrant - มีมาตรการคุ้มครอง/รักษาสิทธิของผู้ถือหุ้น (ยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามเกณฑ์หุ้นราคาต่ำ) - มติผู้ถือหุ้นมีอายุ 1 ปี ทั้งนี้ เงื่อนไขดังกล่าวมีข้อกำหนดเหมือนกรณี PO warrant 3. ส่ง checklist ให้ สนง. พร้อมรายงานผลการขาย ภายใน 15 วัน 48
เกณฑ์การอนุญาต – warrant การเสนอขาย PP warrant กรณีราคาไม่ต่ำ - ลักษณะการเสนอขาย เข้าข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ 1. มูลค่าเสนอขาย ≤ 20 ล้านบาท 2. ผู้ลงทุนรวมทุกรุ่น ≤ 50 ราย 3. ผู้ลงทุนสถาบัน 49
เกณฑ์การอนุญาต – warrant การเสนอขาย PP warrant กรณีราคาไม่ต่ำ (ต่อ) - ไม่ต้องยื่นคำขออนุญาต และไม่ต้องยื่น filing แต่ต้อง ปฏิบัติตามเงื่อนไขต่อไปนี้ 1. บมจ.ที่จัดตั้งตามกฎหมายไทย 2. จดข้อจำกัดการโอน warrant ก่อนเสนอขาย 3. ลักษณะ warrant เช่นเดียวกับกรณี PO ยกเว้นไม่มี ข้อกำหนดเกี่ยวกับระยะเวลาใช้สิทธิครั้งสุดท้าย ค่าเสียหาย และcallable warrant 4. มีมาตรการคุ้มครอง/รักษาสิทธิของผู้ถือหุ้น เช่นเดียวกับ กรณี PO และมติผู้ถือหุ้นมีอายุ 1 ปี 5. เงื่อนไขการอนุญาต PP เช่น ห้ามโฆษณาเป็นการทั่วไป - ส่ง checklist ให้ สนง. พร้อมรายงานผลการขาย ภายใน 15 วัน 50
การปรับสิทธิ warrant กรณีต่อไปนี้ ต้องกำหนดให้มีการปรับสิทธิ มีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นของบริษัท อัน เป็นผลมาจากการรวมหุ้นหรือแบ่งแยกหุ้น มีการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ในราคาต่ำ มีการเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพในราคาต่ำ หรือ มีการเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิในราคาต่ำ มีการจ่ายเงินปันผลทั้งหมด หรือบางส่วนเป็นหุ้น ที่ออกใหม่ให้แก่ผู้ถือหุ้น 51
warrant กรณีต่อไปนี้ ต้องกำหนดให้มีการปรับสิทธิ (ต่อ) มีการจ่ายเงินปันผลเป็นเงิน ซึ่งเกินกว่าอัตราที่ระบุไว้ใน ข้อกำหนดสิทธิ (พิจารณานโยบายการจ่ายปันผลของ บริษัทด้วย) เมื่อมีกรณีอื่นใดในลักษณะเดียวกับข้อ 1-5 ที่ทำให้ผลประโยชน์ตอบแทนใดๆ ที่ผู้ถือ warrant จะได้รับเมื่อมีการใช้สิทธิ warrant ด้อยไปกว่าเดิม 52
warrant – ตัวอย่าง ตัวอย่าง 1 การคำนวณ % หุ้นรองรับ ตัวอย่าง 1 การคำนวณ % หุ้นรองรับ บริษัทจดทะเบียน A มีทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 400 ล้านหุ้น ในปีที่ผ่านมา มีการออกใบสำคัญแสดงสิทธิชุดที่ 1 จำนวน 150 ล้านหน่วย มีหุ้นรองรับ 150 ล้านหุ้น ปัจจุบันยังไม่มีการใช้สิทธิ กำลังจะออกใบสำคัญแสดงสิทธิชุดที่ 2 จำนวน 50 ล้านหน่วย มีหุ้นรองรับ 50 ล้านหุ้น ในราคาใช้สิทธิ 4 บาท โดยมีราคาตลาด 6 บาท/หุ้น 53
warrant – ตัวอย่าง ตัวอย่าง 1 การคำนวณ % หุ้นรองรับ (ต่อ) คำถาม บริษัทสามารถออกใบสำคัญแสดงสิทธิชุดที่ 2 ตามแผนได้หรือไม่ คำตอบ เกณฑ์กำหนดว่า หุ้นรองรับต้อง ≤ 50% ของทุนชำระแล้ว 1. 150+50 = 50% 400 2. 150+50+A = 50+ ….% A = หุ้นที่รองรับการปรับสิทธิเนื่องจากขายหุ้นรองรับ ใบสำคัญแสดงสิทธิชุดที่ 2 ที่ต่ำกว่าราคาตลาด ออกไม่ได้ เพราะมากกว่า 50% 54
warrant – ตัวอย่าง ตัวอย่าง 2 การคำนวณ% หุ้นรองรับ ตัวอย่าง 2 การคำนวณ% หุ้นรองรับ บริษัทจดทะเบียน DD มีทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 300 ล้านหุ้น จะออก warrant ชุด 2 ให้ผู้ถือหุ้นเดิมในสัดส่วน 3 หุ้น ต่อ 1 w จำนวน 100 ล้านหน่วย โดยมีอัตราใช้สิทธิ 1 w ต่อ 1 หุ้น เคยมีการออก warrant ชุด1 ในช่วงที่ผ่านมา จำนวน 75 ล้านหน่วย ซึ่งสามารถใช้สิทธิแปลงเป็นหุ้นได้ 75 ล้านหุ้น (อัตรา 1:1) ปัจจุบันคงเหลือ warrant ชุด 1 คงค้างอยู่จำนวน 30 ล้านหน่วย คำถาม บริษัทจดทะเบียน DD จะออก warrant ชุด2 ได้หรือไม่ 55
warrant – ตัวอย่าง ตัวอย่าง 2 (ต่อ) คำถาม บริษัทจดทะเบียน DD จะออก warrant ชุด2 ได้หรือไม่ คำตอบ สัดส่วนหุ้นที่ออก = จำนวนหุ้นที่รองรับ W2+หุ้นที่รองรับ W1 จำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมด = 100+30 = 43.3% 300 * W1 นับเฉพาะที่ outstanding 56
warrant – ตัวอย่าง ตัวอย่าง 3 บริษัทจดทะเบียน A มีการ XW ให้ผู้ถือหุ้นเดิมทุกรายได้สิทธิ โดยหุ้นเดิม 2 หุ้นได้ warrant 1 หน่วย และผู้บริหารของ บริษัทจดทะเบียน A ได้ warrant ดังกล่าวตามสิทธิของ ผู้ถือหุ้นเดิม ต่อมาผู้บริหารดังกล่าวได้มีการใช้สิทธิซื้อหุ้น คำถาม ผู้บริหารบริษัทจดทะเบียน A ดังกล่าว ต้องรายงานการถือครองหลักทรัพย์ตาม มาตรา 59 กรณีมีการใช้สิทธิ warrant หรือไม่ คำตอบ ไม่ต้องรายงาน โดยได้รับการยกเว้นตามข้อ 6 แห่งประกาศที่ สจ. 12/2552 (รวมถึงการได้หลักทรัพย์ทรัพย์จาก ESOP และ EJIP ที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน) 57
warrant – ตัวอย่าง ตัวอย่าง 4 บริษัทจดทะเบียน AA - มีทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 450 ล้านหุ้น จะมีการออก ใบสำคัญแสดงสิทธิชุดใหม่ให้กับผู้ถือหุ้นเดิมในอัตรา 3 หุ้น เดิม ได้รับ warrant 1 หน่วย (1 w ซื้อหุ้นได้ 1 หุ้น) - ปีที่ผ่านมาบริษัทได้ออกใบสำคัญแสดงสิทธิให้ผู้ถือหุ้นเดิม ไปแล้วในจำนวน 50 ล้านหน่วย (1 w ซื้อหุ้นได้ 1 หุ้น) และ ต้นปีที่ผ่านมาได้ทำ IPO โดยมีการจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิให้พนักงาน 60 ล้านหน่วย คำถาม บริษัทจะเสนอขาย warrant ชุดใหม่ ได้ตามจำนวนหรือไม่ 58
warrant – ตัวอย่าง ไม่ได้ ตัวอย่าง 4 (ต่อ) คำตอบ เกณฑ์หุ้นรองรับ warrant ต้องไม่เกิน 50% (ไม่รวม ESOP) หุ้นรองรับ = ชุดออกใหม่ + ชุดเก่า + ชุดขายพร้อม IPO = 150+50+60 = 260 % หุ้นรองรับ = 260/450 = 58% จะออก warrant ได้สูงสุด = 115 ล้านหน่วย เพื่อไม่เกิน 50% * การคำนวณ 50% ต้องคำนวณ warrant ที่ขายให้พนักงานพร้อม IPO (ยกเว้นเฉพาะที่ขายตามประกาศ ESOP) ไม่ได้ 59
4. ใบแสดงสิทธิในการ ซื้อหุ้นเพิ่มทุนที่โอนสิทธิได้ (TSR) 60
- ไม่ต้องยื่นคำขออนุญาต และไม่ต้องยื่น filing เกณฑ์การอนุญาต - TSR การเสนอขาย TSR หลักการ ทำให้ผู้ลงทุนมีสภาพคล่องที่จะสามารถขายหรือ โอนสิทธิ์ในการซื้อหุ้นเพิ่มทุนได้ - ไม่ต้องยื่นคำขออนุญาต และไม่ต้องยื่น filing แต่ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขต่อไปนี้ 1. TSR อายุไม่เกิน 2 เดือน 2. ระยะเวลาใช้สิทธิครั้งสุดท้ายไม่น้อยกว่า 15 วัน 3. ค่าเสียหายไม่ต่ำกว่าส่วนต่างระหว่างราคาตลาด ของหุ้น ณ วันที่ใช้สิทธิกับราคาใช้สิทธิ 4. มติผู้ถือหุ้นมีอายุ 1 ปี 5. ส่ง checklist ให้ สนง. พร้อมรายงานผลการขาย ภายใน 15 วัน 61
5. การเสนอขายหลักทรัพย์ ต่อกรรมการหรือพนักงาน (ESOP)
แนวคิดของเกณฑ์ ESOP หลักการ การให้สิทธิกรรมการ/พนักงานซื้อหุ้น เป็นเครื่องมือ สำคัญในการจูงใจและสร้างส่วนร่วมในการเป็นเจ้าของ ให้กรรมการ/พนักงาน กรรมการได้ ESOP ด้วยจึงมี conflict of interest ผู้ถือหุ้นต้องเป็นผู้อนุมัติ โดยหนังสือนัดประชุมมีข้อมูล เพียงพอ การให้ประโยชน์ตาม ESOP = dilution ของผู้ถือหุ้น การให้ประโยชน์พิเศษ ต้องได้รับอนุมัติด้วยมติยาก (ถ้าให้สิทธิซื้อหุ้นจำนวนมาก ราคาต่ำกว่าตลาด และกระจุกตัว ต้องชี้แจงเหตุผล ผ่านคณะ กก. ค่าตอบแทน และผู้ถือหุ้นรายย่อยมีสิทธิคัดค้าน)
เกณฑ์การอนุญาต - ESOP 1. ใช้บังคับกับการเสนอขาย ESOP คือ บมจ. ที่มีรายย่อย - บริษัทจดทะเบียน - บริษัทที่บริษัทจดทะเบียน ถือหุ้น > 50% 2. ประเภทหลักทรัพย์ : หุ้น CD และ warrant 3. ไม่ต้องขออนุญาตและไม่ต้องยื่น filing แต่ต้องปฏิบัติ ตามเงื่อนไขอนุญาต
เกณฑ์การอนุญาต - ESOP เงื่อนไขการอนุญาต 1. ต้องปฏิบัติตามเกณฑ์คุ้มครองผู้ถือหุ้น (“เกณฑ์ ESOP”) ได้แก่ หนังสือนัดประชุม มติผู้ถือหุ้น สิทธิ veto 2. มติผู้ถือหุ้นอายุ 1 ปี 3. ส่ง checklist ให้ สนง. พร้อมรายงานผลการขาย ภายใน 15 วัน
เกณฑ์ ESOP แบ่งเกณฑ์ ESOP เป็น 2 กรณี 1. กรณี dilute มาก คือ จำนวนที่เสนอขาย > 5% ของจำนวนหุ้นที่ ชำระแล้ว ณ วันที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติ และราคา เสนอขายเข้าข่ายหุ้นราคาต่ำ 2. กรณี dilute น้อย คือ การเสนอขายที่ไม่ใช่กรณี dilute มาก
เกณฑ์ ESOP การพิจารณาว่าเป็นการเสนอขายราคาต่ำหรือไม่ ให้ดูเกณฑ์การเสนอขายหลักทรัพย์ในราคาต่ำ จำนวนเสนอขาย คำนวณโดย (1) จำนวนหุ้นที่ออกครั้งนี้ + (2) จำนวนหุ้นและหุ้นรองรับ ESOP 5 ปีย้อนหลัง (นับเฉพาะที่เสนอขายในราคาต่ำ)
เกณฑ์ ESOP 1. กรณี dilute มาก ราคาและเงื่อนไขของหลักทรัพย์ ส่วนที่เสนอให้กรรมการต้องไม่ดีกว่าที่ให้พนักงาน การขายแบบโครงการ ทำได้เฉพาะการขายหุ้นเท่านั้น : อายุโครงการ ไม่เกิน 5 ปี การขายหลักทรัพย์แปลงสภาพ อายุหลักทรัพย์ไม่เกิน 5 ปี 68
เกณฑ์ ESOP 1. กรณี dilute มาก (ต่อ) หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น (ส่งล่วงหน้าอย่างน้อย 14 วัน) ข้อมูลอย่างน้อย - คำอธิบายเกี่ยวกับความจำเป็นของการขาย ESOP ที่มีต่อการดำรงอยู่ของบริษัท หรือความคุ้มค่าที่ บริษัทได้รับเมื่อเทียบกับผลประโยชน์ที่กรรมการได้รับ - เหตุผล/ที่มาในการกำหนดจำนวน ราคาที่กำหนด เป็นราคาต่ำ - รายละเอียดหลักทรัพย์ เช่น ประเภท อายุ จำนวน ราคา - รายชื่อกรรมการทุกรายที่ได้รับการจัดสรร และ จำนวนที่ได้รับ - รายชื่อพนักงานที่ได้รับการจัดสรรมากกว่า 5% และ ตัวอย่างการคำนวณ
เกณฑ์ ESOP 1. กรณี dilute มาก(ต่อ) หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น (ต่อ) ข้อมูลอย่างน้อย (ต่อ) - dilution - หลักเกณฑ์/วิธีการขาย/การจัดสรร - สิทธิ veto - จัดส่ง proxy form + รายละเอียด กรรมการอิสระที่เสนอให้เป็นผู้รับมอบฉันทะ หากกรรมการอิสระได้รับจัดสรรให้แสดง ส่วนได้เสียของกรรมการอิสระด้วย ตัวอย่างการคำนวณ
เกณฑ์ ESOP 1. กรณี dilute มาก (ต่อ) 2. มติที่ประชุม - 3 ใน 4 ของ ผถห.ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง - veto ไม่เกิน 5% ของผู้ถือหุ้นที่มาประชุม - ต้องไม่เป็นการมอบอำนาจให้บุคคลอื่นใด เป็นผู้กำหนดรายละเอียดหลักทรัพย์ หลักเกณฑ์/วิธีการเสนอขาย/การจัดสรร แทน
เกณฑ์ ESOP 2. กรณี dilute น้อย เหมือนเกณฑ์ dilute มาก เว้นแต่ - veto ไม่เกิน 10% ของผู้ถือหุ้นที่มาประชุม - ไม่ต้องเปิดเผยเหตุผลที่ต้องเสนอขาย ในราคาต่ำ และคำอธิบายความจำเป็นหรือ ความคุ้มค่าที่บริษัทได้รับเมื่อเทียบกับ ผลประโยชน์ที่กรรมการได้รับ 72
เกณฑ์ ESOP เกณฑ์เพิ่มเติม : กรณีการจัดสรรแบบกระจุกตัว คือ การจัดสรรให้คนใดคนหนึ่งเกิน 5% ของจำนวนที่ ขออนุญาต ต้องทำตามเกณฑ์เพิ่มเติม ดังนี้ 1. ข้อมูลที่ต้องเพิ่มเติมในหนังสือนัดประชุม - ผลประโยชน์เป็นตัวเงินที่ได้รับ (มูลค่า ESOP หักมูลค่าตลาด) - ความเห็น compensation committee (แสดงเหตุผล ความจำเป็น ประโยชน์ที่บริษัทได้รับ) ซึ่งประกอบด้วย กรรมการบริษัทอย่างน้อย 3 คน ไม่มีผู้ที่ได้เกิน 5% เป็น committee 73
เกณฑ์ ESOP เกณฑ์เพิ่มเติม : กรณีการจัดสรรแบบกระจุกตัว (ต่อ) 1. ข้อมูลที่ต้องเพิ่มเติมในหนังสือนัดประชุม (ต่อ) - จำนวนครั้งที่เข้า/ขาดประชุม (กรณีกรรมการ) - ผลตอบแทนปีล่าสุด (เงินเดือน โบนัส หรืออื่นๆ) (เฉพาะกรณีที่ราคาเสนอขายมีส่วนลดจาก ราคาตลาด) 2. วาระการประชุม : เสนอขออนุมัติกรรมการ/พนักงาน เป็นรายบุคคล 3. มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น : 3 ใน 4 + veto ไม่เกิน 5% 74
ตัวอย่าง 1 การปรับสิทธิ เกณฑ์ ESOP – ตัวอย่าง ตัวอย่าง 1 การปรับสิทธิ บริษัทจดทะเบียน A ขายใบสำคัญแสดงสิทธิที่ จะซื้อหุ้น ESOP และกำหนดว่าจะปรับสิทธิเมื่อมีการจ่ายปันผลมากกว่า 30% โดยบริษัทมีนโยบายจ่ายปันผลในอัตรา 50% ประเด็น เหมาะสม? กรณีนี้ไม่เหมาะสม เพราะ - ไม่สมเหตุสมผล - จะเกิดการปรับสิทธิทุกครั้งที่จ่ายปันผล 75
เกณฑ์ ESOP – ตัวอย่าง ตัวอย่าง 2 การส่งหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น ตัวอย่าง 2 การส่งหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทจดทะเบียน จะมีการออกและเสนอขาย warrant ให้กับกรรมการและพนักงาน (ESOP) จึงได้ส่งหนังสือ นัดประชุมผู้ถือหุ้นในวันที่ 1 ก.พ. 53 และนัดประชุมผู้ถือหุ้น วันที่ 14 ก.พ. 53 พร้อมส่ง Proxy form ให้ผู้ถือหุ้น สามารถมอบอำนาจให้กรรมการอิสระท่านหนึ่งที่ได้รับ การจัดสรร ESOP ดังกล่าว เป็นผู้ดำเนินการใช้สิทธิ ออกเสียงแทน 76
เกณฑ์ ESOP – ตัวอย่าง ตัวอย่าง 2 (ต่อ) คำถาม ตัวอย่าง 2 (ต่อ) คำถาม - การส่งหนังสือนัดประชุมถูกต้องตามกำหนดเวลาหรือไม่ - จะต้องระบุอะไรบ้างในหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น คำตอบ - เกณฑ์กำหนดต้องส่งหนังสือก่อนประชุม 14 วัน ซึ่งกรณีนี้ไม่ครบ (นับวันส่งหนังสือ ไม่นับวันประชุม) - Proxy Form ที่แนบพร้อมกับหนังสือนัดประชุม ต้องเปิดเผยส่วนได้เสีย และการได้รับจัดสรร ESOP ของผู้มอบอำนาจ 77
มีทุนชำระแล้ว 1,000 ล้านหุ้น เกณฑ์ ESOP – ตัวอย่าง ตัวอย่าง 3 ระยะเวลาในการคำนวณ % หุ้นรองรับ ออก ESOP-W1 15 ล้านหน่วย หุ้นรองรับ 15 ล้านหุ้น ประชุมผู้ถือหุ้น โดย listed มีทุนชำระแล้ว 1,000 ล้านหุ้น เสนอขาย W2 40 ล้านหน่วย หุ้นรองรับ 40 ล้านหุ้น ออกหุ้น (ESOP) 15 ล้านหุ้น 15 ก.พ. 47 15 ก.พ. 49 15 ก.พ. 53 ราคาเสนอขาย ESOP-W1 และ ESOP-W2 เป็นราคาต่ำ คำถาม คำนวณ % หุ้นรองรับเพื่อพิจารณาสิทธิ Veto อย่างไร 78
มีทุนชำระแล้ว 1,000 ล้านหุ้น เกณฑ์ ESOP – ตัวอย่าง ตัวอย่าง 3 (ต่อ) ออกหุ้น (ESOP) 15 ล้านหุ้น ออก ESOP-W1 15 ล้านหน่วย หุ้นรองรับ ประชุมผู้ถือหุ้น โดย listed มีทุนชำระแล้ว 1,000 ล้านหุ้น เสนอขาย W2 40 ล้านหน่วย 40 ล้านหุ้น 15 ก.พ. 47 15 ก.พ. 49 15 ก.พ. 53 คำตอบ % หุ้นรองรับ = หุ้น+หุ้นรองรับ ESOP ทั้งหมดย้อนหลัง 5 ปี หุ้นชำระแล้ว ณ วันประชุมผู้ถือหุ้น = 40+15 = 5.5% 1,000 * ไม่นับ เพราะเกิน 5 ปี จุดเริ่มให้นับจาก ตามประกาศ ทจ. 32/2551 ข้อ 10 และ 11 ** นับหุ้นรองรับ ESOP-W1 ทั้งหมด ไม่ว่าจะมีการใช้สิทธิไปแล้วก็ตาม 1 2 3 4 นับจากวันเสนอขายล่าสุด VETO = 5% 1 4 79
กรณียกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามเกณฑ์ ESOP กรณีเสนอขายหลักทรัพย์ที่เหลือจาก RO ให้กรรมการหรือพนักงาน จะได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามเกณฑ์ ESOP ก็ต่อเมื่อ 1. มีมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นคราวเดียวกับ RO อนุมัติว่า จะจัดสรรหลักทรัพย์ที่เหลือให้กรรมการ/พนักงาน 2. หากจัดสรรให้กรรมการต้องระบุเกณฑ์จัดสรร/จำนวน สูงสุดแต่ละราย 3. การจัดสรรให้กรรมการ/พนักงานต้องมีราคา/เงื่อนไข ไม่ดีกว่า RO 4. หากราคาเสนอขายเข้าข่ายหุ้นราคาต่ำ ต้องปฏิบัติ ตามเกณฑ์ PP หุ้นราคาต่ำด้วย หากเสนอขายให้กับผู้รับช่วงในราคาที่ต่ำกว่าราคาตลาด ผู้รับช่วงดังกล่าวอาจต้องเสียภาษี เนื่องจากได้ capital gain และเมื่อขายต่อให้กรรมการหรือพนักงาน กรรมการหรือพนักงานรายนั้นๆ ก็ต้องเสียภาษีอีกทีด้วย 80 80
การจัดสรรหุ้นตามสัดส่วน(RO) การจัดสรรแก่ผู้ถือหุ้นตามสัดส่วน หมายถึง ต้องเป็นการจัดสรรแก่ผู้ถือหุ้นตามสัดส่วน ได้รับยกเว้นการยื่นคำขออนุญาตและแบบ filing ก่อนการเสนอขาย ตามมาตรา 33 81
6. โครงการร่วมลงทุนระหว่างนายจ้างและลูกจ้างของบริษัทจดทะเบียน (Employee Joint Investment Program) EJIP
หักเงินเดือน X% เท่ากันทุกเดือน โครงการ EJIP วัตถุประสงค์ เป็นโครงการที่จะให้ผลตอบแทนแก่กรรมการและพนักงาน เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและสร้างความรู้สึก มีส่วนร่วมในความเป็นเจ้าของบริษัท คล้ายโครงการ ESOP (ต่างจาก ESOP ตรงที่เป็นหุ้นเดิม) เป็นโครงการที่ให้สิทธิแก่กรรมการและพนักงาน เพื่อให้เข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัทเหมือนกับโครงการ ESOP โดยเป็นการซื้อหุ้นบริษัท (หุ้นเดิม) ที่ซื้อขายอยู่บนระบบซื้อขายของตลาดหลักทรัพย์ ไม่ใช่เป็นการออกหุ้นใหม่ หักเงินเดือน X% เท่ากันทุกเดือน ตัวกลาง เช่น บล. สมทบ Y% ซื้อหุ้น บจ. ในตลาดหลักทรัพย์ 83 83
โครงการ EJIP หลักการ เป็นเรื่องการให้ผลตอบแทนแก่กรรมการหรือพนักงาน ซึ่งไม่มีข้อกำหนดว่าโครงการต้องขออนุมัติจากสำนักงาน การขออนุมัติโครงการ EJIP ต่อ สนง. เนื่องจาก หากมีการขายต่อผู้บริหารจะต้องรายงานการได้มาตามมาตรา 59 ซึ่งจะเป็นภาระและอาจกระทบต่อข้อมูลเงินเดือน ที่เป็นความลับ ดังนั้น หากได้รับอนุมัติโครงการ EJIP จาก สนง. จะได้ประโยชน์โดยผู้บริหารได้รับการยกเว้นการรายงานตามมาตรา 59 หลักในการพิจารณาเห็นชอบโครงการ คือ ต้องแสดง ให้เห็นว่าไม่มีการใช้ข้อมูลภายในที่เป็นประโยชน์ต่อ ผู้บริหารได้
โครงการ EJIP เกณฑ์การพิจารณา (สนง. อนุมัติภายใน 10 วันทำการ) เกณฑ์การพิจารณา (สนง. อนุมัติภายใน 10 วันทำการ) ต้องส่งเงินเข้าโครงการเป็นงวดคงที่สม่ำเสมอ เพื่อให้มีการกำหนดจำนวนเงินที่ซื้อหุ้นที่ชัดเจน โดยไม่มีการใช้ข้อมูลภายในเพื่อปรับเปลี่ยนเงินที่เข้าโครงการตามสภาพที่เป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร กำหนดวันซื้อชัดเจน จะทำให้ไม่เกิดข้อสงสัยว่าไม่มีการใช้ข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์ของผู้บริหารหรือไม่ โครงการต้องดำเนินการผ่านตัวกลาง เช่น บริษัทหลักทรัพย์ ซึ่งทำให้ชัดเจนว่าเป็นบุคคลภายนอกที่ไม่ล่วงรู้ข้อมูลภายในเป็นคนสั่งซื้อหุ้นแทน แยกบัญชี EJIP ออกจากบัญชีส่วนตัว เพื่อความชัดเจนและตรวจสอบได้ ได้รับอนุมัติโครงการจาก Board
7. การขายหุ้นที่มีลักษณะ การ Spin-off
การขายหุ้นลักษณะ Spin-off การที่บริษัทจดทะเบียน ขายหุ้นของบริษัทย่อยต่อประชาชน เพื่อนำเข้าจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์ ฯ
การขายหุ้น Spin-off ประเด็นที่ต้องพิจารณา 1. ผลกระทบต่อการดำรงสถานะบริษัทจดทะเบียน วิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการสูญเสียส่วนแบ่งกำไร จะมีผลต่อฐานะการเงิน ของบริษัทจดทะเบียนอย่างไร กรณีตัวอย่าง บริษัทจดทะเบียน A ขายหุ้น บริษัท B ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ทำให้สัดส่วนการถือหุ้นลดลงจาก 99.99% เหลือ 65% การเปิดเผย ผลการดำเนินงาน และผลกระทบต่อบริษัทจดทะเบียน A
การขายหุ้น Spin-off กรณีตัวอย่าง (ต่อ) ปี 2552 บริษัทจดทะเบียน A บริษัท B รายได้ 400 ลบ. กำไร 70 ลบ. รายได้ 200 ลบ. กำไร 40 ลบ. จากการสูญเสียส่วนแบ่งกำไร (99.99% 65%) คือ 14 ลบ. (40*35%)
การขายหุ้น Spin-off ประเด็นที่ต้องพิจารณา (ต่อ) 2. ผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นเดิม และการชดเชย เปิดเผยรายละเอียดการชดเชย dilution effect ต้องระบุว่า จะมีการกันหุ้น IPO ส่วนหนึ่งให้ ผู้ถือหุ้นเดิมหรือไม่ อย่างไร พร้อมเหตุผล
ประเด็นพิจารณาการอนุญาต การขายหุ้น Spin-off ประเด็นที่ต้องพิจารณา (ต่อ) 3. ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เปิดเผยการแข่งขันและการพึ่งพิง ตัวอย่าง บริษัทจดทะเบียน A ทำน้ำสับปะรด ส่งออกขาย ตปท. โดย ซื้อสับปะรดทั้งหมดจากบริษัท B ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่ บริษัทจดทะเบียน A ถือ 100% คำถาม สามารถนำ บริษัท B spin-off ได้หรือไม่ คำตอบ บริษัทจดทะเบียน A มีการพึ่งพิงบริษัท B อย่างมี นัยสำคัญ จึงมีประเด็นที่อาจไม่เหมาะสมต่อการทำ spin-off
ประเด็นพิจารณาการอนุญาต การขายหุ้น Spin-off ประเด็นที่ต้องพิจารณา (ต่อ) 4. การอนุมัติทำ spin-off ควรเสนอรายละเอียดการทำ spin-off ให้กับ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทจดทะเบียนอนุมัติหรือไม่ เนื่องจากการทำ spin-off ถือเป็นรายการจำหน่ายไป ซึ่งสินทรัพย์ ซึ่งบริษัทจะต้องนำเข้าที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือไม่ ให้พิจารณากฎเกณฑ์ในเรื่องดังกล่าวด้วย
8. การเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่พร้อมกับการทำคำเสนอซื้อ หลักทรัพย์เดิม เพื่อปรับโครงสร้าง การถือหุ้นและการจัดการ ของแถม ถ้ามีเวลาเหลือ
การเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่พร้อมกับ การทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์เดิม เพื่อปรับโครงสร้าง การถือหุ้นและการจัดการ วัตถุประสงค์ บริษัทจดทะเบียน ปรับโครงสร้างการถือหุ้น และ การจัดการให้มีประสิทธิภาพ โดยอาจปรับรูปแบบการจด ทะเบียนเป็นลักษณะ holding หรือ รวมการจดทะเบียน หลายบริษัทให้เป็นบริษัทจดทะเบียนเดียว ข้อกำหนด ผู้ขออนุญาต ออกหลักทรัพย์+tender บริษัทจดทะเบียน ที่เป็น target ต้องเป็น Holding company Listed company ของแถม ถ้ามีเวลาเหลือ
การเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่พร้อมกับ การทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์เดิม เพื่อปรับโครงสร้าง การถือหุ้นและการจัดการ กรณี1 ผู้ขออนุญาตเป็น Holding company 1) จัดตั้ง Holding ใหม่ 2) Holding co. ออกหุ้นใหม่+tender หุ้นของ listed A 3) นำหุ้น listed A เพิกถอนออกจากตลาดหลักทรัพย์ฯ 4) นำ Holding co. เข้าจดทะเบียนแทน ก่อนปรับโครงสร้าง หลังปรับโครงสร้าง ของแถม ถ้ามีเวลาเหลือ Holding Listed เพิกถอน % ตามที่ tender ได้ ( >=75%) listed แทน ผู้ถือหุ้น holding (ถือ listed เดิม) ผู้ถือหุ้น listed Holding Listed ออกหุ้น+tender
การเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่พร้อมกับ การทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์เดิม เพื่อปรับโครงสร้าง การถือหุ้นและการจัดการ กรณี2 ผู้ขออนุญาตเป็น Listed company 1) listed A ออกหุ้นใหม่+tender หุ้นของ listed B 2) นำหุ้น listed B เพิกถอนออกจากตลาดหลักทรัพย์ฯ 3) คงสภาพ listed A ไว้ ก่อนปรับโครงสร้าง หลังปรับโครงสร้าง ของแถม ถ้ามีเวลาเหลือ Listed A B เพิกถอน % ตามที่ tender ได้ คงสภาพ listed กลุ่มเดิมที่ถือ B กลุ่มเดิมที่ถือ A Listed A Listed B ออกหุ้น+tender
การเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่พร้อมกับ การทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์เดิม เพื่อปรับโครงสร้าง การถือหุ้นและการจัดการ เกณฑ์การอนุญาต หลักทรัพย์ที่เสนอขาย : สอดคล้อง + ไม่ด้อยกว่าสิทธิเดิม สอดคล้อง ไม่ด้อยกว่าเดิม มูลค่าตามการประเมิน ได้รับอนุญาตในเบื้องต้นจาก SET ในเรื่องแผน + การจดทะเบียนแทน (Holding) ได้รับความเห็นชอบจากหน่วยงานกำกับดูแล เช่น ธปท. กระทรวงการคลัง หนังสือจัดประชุมผู้ถือหุ้นจัดส่งล่วงหน้า 14 วัน มีข้อมูลแผน + ความเห็น IFA หุ้น แลกกับ หุ้น ใบสำคัญแสดงสิทธิ แลกกับ ใบสำคัญแสดงสิทธิ ของแถม ถ้ามีเวลาเหลือ
การเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่พร้อมกับ การทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์เดิม เพื่อปรับโครงสร้าง การถือหุ้นและการจัดการ เกณฑ์การอนุญาต (ต่อ) ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเกินจำนวน ¾ ของผู้มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง เห็นชอบ แบบแสดงรายการข้อมูล (แบบ 69/247-1) รวมแสดงรายการเสนอขายหุ้นใหม่ + tender offer โดยมี IFA ร่วมจัดทำ ต้องทำคำเสนอซื้อทั้งหมดของบริษัทจดทะเบียน ข้อกำหนดการเสนอซื้อ ใช้ประกาศ tender เสนอซื้อภายใน 3 วันทำการ พร้อมแบบ 69/247-1 มีผลใช้บังคับ ข้อมูลประมาณการงบการเงินภายหลังปรับโครงสร้าง แผนปรับโครงสร้าง + การจัดการ แผนการเพิกถอน หรือการยื่นจดทะเบียนแทน ของแถม ถ้ามีเวลาเหลือ