งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑
พงษ์เดช วานิชกิตติกูล ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลประจำสำนักประธานศาลฎีกา

2 พ.ร.บ. วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๕๑
▪ ที่มา และ วัตถุประสงค์ ▪ เหตุผลที่ต้องคุ้มครองผู้บริโภค ▪ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ▪ สภาพปัญหาในการบังคับใช้กฎหมายเพื่อเยียวยาความ เสียหายให้แก่ผู้บริโภค (Law enforcement)

3 สาระสำคัญ ลักษณะของคดีผู้บริโภค หลักวิธีพิจารณาคดีพื้นฐาน
การฟ้องคดีผู้บริโภค ภาระการพิสูจน์ในคดีผู้บริโภค การสืบพยาน การพิพากษาคดี การอุทธรณ์ฎีกา การคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษา การบังคับคดี

4 ลักษณะของคดีผู้บริโภค
ต้องเป็นคดีแพ่งดังต่อไปนี้ (ม.๓) ▪ คดีพิพาทระหว่างผู้บริโภค (รวมถึงผู้มีอำนาจฟ้องคดีแทนตาม ม.19)กับผู้ ประกอบธุรกิจอันเนื่องมาจากการบริโภคสินค้าหรือบริการ ▪ คดีพิพาทตามก.ม ว่าด้วยความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้า ไม่ ปลอดภัย (Product Liability Law) ▪ คดีที่เกี่ยวพันกับคดีสองประเภทข้างต้น ▪ คดีที่มีกฎหมายบัญญัติให้ใช้วิธีพิจารณาตามพ.ร.บ. นี้ * ในกรณีที่มีปัญหาว่าเป็นคดีผู้บริโภคหรือไม่ ต้องส่งให้ประธานศาลอุทธรณ์วินิจฉัย (ม.8)

5 หลักวิธีพิจารณาคดีพื้นฐาน
ไม่เป็นทางการ (Informality) ( ม.9,15,25) สะดวก (Convenience) (ม.20,26,33) ประหยัด ( No cost) (ม.18) รวดเร็ว (speedy trial) (ม.35, 49) เป็นธรรม (Fairness) (ม.10, 11, 13, 14, 41, 44, 33, 34, 36, 39, 17) สุจริต (good faith) (ม.12, 18, 27)

6 การฟ้องคดีผู้บริโภค ▪ ผู้มีอำนาจฟ้องคดี (ม.19) ▪ อายุความ (ม.13, 14)
▪ ผู้มีอำนาจฟ้องคดี (ม.19) ▪ อายุความ (ม.13, 14) ▪ วิธีการฟ้องคดี (ม.20, 21) ▪ ค่าฤชาธรรมเนียม (ม.18)

7 ภาระการพิสูจน์ในคดีผู้บริโภค
▪ หลักกล่าวอ้าง ▪ ข้อสันนิษฐาน (Presumptions) ▪ ข้อสันนิษฐานตามกฎหมาย (Presumption of law) ▪ ข้อสันนิษฐานตามความเป็นจริง (Presumption of facts) ▪ ข้อเท็จจริงที่อยู่ในความรู้เห็นของคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งโดยเฉพาะ (Exclusive knowledge) (ม.29)

8 การสืบพยาน การสืบพยานไว้ก่อนฟ้องคดี (ม.22, 23)
การนัดพิจารณาและการขาดนัด (ม.24, 25, 26, 27, 28) ศาลมีบทบาทในการแสวงหาข้อเท็จจริง (ม.33, 34, 36)

9 การพิพากษาคดี คำพิพากษาอาจผูกพันบุคคลภายนอกที่ไม่ใช่คู่ความในคดี (ม.30, 43) พิพากษาเกินคำขอได้ (ม.39) การกำหนดค่าเสียหายเพิ่มเติมภายหลังพิพากษาคดี (ม.40) ค่าเสียหายเชิงลงโทษ (ม.42)

10 ค่าเสียหายเชิงลงโทษ ม.42
▪ ความจำเป็น ▪ แพ่ง / อาญา ▪ เจตนา / ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง / ประมาทเลินเล่อ ▪ มีเพดาน / ไม่มีเพดาน ▪ ตกได้แก่ใคร ▪ เอาประกันภัยได้หรือไม่

11 การอุทธรณ์ฎีกา หลักความเป็นที่สุดของคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ (ม.49)
การจัดตั้งแผนกคดีผู้บริโภคในศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค (ม.45,46) การขออนุญาตอุทธรณ์ในคดีที่ต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ในข้อเท็จจริง (ม.48) การขออนุญาตฎีกา (ม.51, 52) การพิพากษาคดีของศาลฎีกา (ม.54)

12 การคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษา
การคุ้มครองชั่วคราวก่อนยื่นฟ้องคดี (ม.56-62) การคุ้มครองชั่วคราวในระหว่างพิจารณาคดี (ม.63)

13 การบังคับคดี ไม่จำต้องออกคำบังคับหากเนิ่นช้าไปจะไม่อาจบังคับคดีได้ (ม.64) หากภายหลังมีข้อขัดข้องในการบังคับคดี ศาลมีอำนาจออกคำสั่ง ใดๆเพื่อแก้ไขข้อขัดข้องดังกล่าว (ม.65)


ดาวน์โหลด ppt พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google