กลุ่มที่ 11 กลุ่ม ศรีวิชัย กลุ่มที่ 11 กลุ่ม ศรีวิชัย จังหวัด สุราษฎร์ธานี ระนอง ชุมพร กระบี่ นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต กองแผนงาน
สมาชิกกลุ่ม 11 ศรีวิชัย จังหวัด สุราษฎร์ธานี ระนอง ชุมพร กระบี่ นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต กองแผนงาน
รายชื่อสามชิกกลุ่ม 15 นางสาวบุปผา ไหมพรม เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 5 กองแผนงาน นายประคอง อุสาห์มัน นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว กระบี่ นายอนุวัฒน์ สงคง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 3 กระบี่ นางกนกกร แก้วทอง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 3 กระบี่ นายอภิชาต ศศิสนธิ์ หัวหน้าฝ่ายยุทธศาสตร์และสารสนเทศ ชุมพร นายเกษตรศิลป์ นวลสะอาด นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว ชุมพร นายเศรณี อนิลบล นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว ชุมพร นายประทีป ธนาโรจน์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว ชุมพร นายสราวุธ พลสิทธิ์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว นครศรีธรรมราช นายชวลิต เพียรสวัสดิ์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว นครศรีธรรมราช นายอนุวัต พานทอง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว นครศรีธรรมราช นายเกษตรฉัตร รัตนศรี นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว นครศรีธรรมราช
รายชื่อสามชิกกลุ่ม 15 นายชติ วิชัยดิษฐ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว พังงา นายเชาวรัตน์ ทองญวน นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว พังงา นางณฐวรรณ บัวแก้ว นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว พังงา นายพัลลภ เงินทอง หัวหน้าฝ่ายยุทธศาสตร์และสารสนเทศ ภูเก็ต นายสมาน ซ้ายสูงเนิน นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว ภูเก็ต นายสมชาย เดชเรือง หัวหน้าฝ่ายยุทธศาสตร์และสารสนเทศ ระนอง นายธีระศักดิ์ ยมสวัสดิ์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว ระนอง นายวิจารณ์ หล่อเพชร นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว ระนอง นายชลินทร์ ประพฤติตรง หัวหน้าฝ่ายยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สุราษฎร์ธานี นายโชคชัย บุญยัง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว สุราษฎร์ธานี นายระนอง เหมทานนท์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว สุราษฎร์ธานี
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว กลุ่มศรีวิชัย จิรภัทร ชูศิลป์ทอง อาจารย์ที่ปรึกษา นายประคอง อุสาห์มัน นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว จังหวัดกระบี่ ผู้นำเสนอ บุษยมาศ นิลน้อย ผู้ช่วยอาจารย์ที่ปรึกษา
โครงการสร้างลานเทปาล์มน้ำมันชุมชน ผลสัมฤทธิ์ 1.1. เกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ 1.2. เกษตรกรผู้ร่วมโครงการมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น 1.3. ชุมชนเครือข่ายเข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
2.ผลลัพธ์ 2.1. เกษตรกรมีสถานที่จำหน่ายผลผลิตที่เป็นของชุมชนเพิ่มขึ้น 1 แห่ง ปริมาณผลผลิตเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 50 ตัน/วัน 2.2. เกษตรกรมีรายได้ส่วนต่างจากการจำหน่ายผลผลิตเพิ่มขึ้น ตันละ 200 บาท 2.3. เกิดเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน 1 เครือข่าย 2.4. ลดการเอาเปรียบด้านราคาจากพ่อค้าคนกลาง อย่างน้อย 0.22 บาท/กก. 2.5. คุณภาพผลผลิตเพิ่มขึ้น 90% ของจำนวนผลผลิตทั้งหมด 2.6. เป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชน 1 ศูนย์
3.ผลผลิต 3.1 มีลานเทรวบรวมผลผลิตของชุมชนพร้อมอุปกรณ์ จำนวน 1 จุด
4. กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ 4.1 ขั้นตอนการดำเนินงาน ประชุมชี้แจง รับสมัครสมาชิก คัดเลือกคณะกรรมการบริหาร ระดมทุน ฝึกอบรมสมาชิก วางแผนปฏิบัติงาน ดำเนินการตามแผน ประเมินผล ต่อ
กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ 4.2. การมีส่วนร่วมของประชาชน มีการระดมทุน จากสมาชิกเป็นเงินทุนหมุนเวียน ดำเนินการในรูปคณะกรรมการกลุ่มภายใต้ศูนย์บริการฯ ต่อ
กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ 4.3. วิธีการนำไปสู่การปฏิบัติ ออกแบบแปลน คัดเลือกพื้นที่ (มอบพื้นที่) ดำเนินการก่อสร้าง จัดซื้ออุปกรณ์ เตรียมชุมชน และระดมทุน ดำเนินการจัดซื้อปาล์มของเกษตรกร
5.ปัจจัยที่เอื้อต่อการทำงาน 5.1กลยุทธ์หน่วยงาน เป็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด เสริมสร้างขีดความสามารถในการผลิตและจัดการสินค้าเกษตรที่มีประสิทธิภาพ 5.2. การเมือง อปท.,CEO ให้การสนับสนุน 5.3. สังคมการเกษตร เกษตรกรมีการรวมกลุ่มผู้มีอาชีพเดียวกัน นำไปสู่วิสาหกิจชุมชน 5.4. เศรษฐกิจ เกษตรกรมั่งคั่ง 5.5. เทคโนโลยี มีการนำเครื่องมืออุปกรณ์ที่ทันสมัยมาใช้ เครื่องชั่งคอมพิวเตอร์บอกผลยุติธรรม
6.1 คน เจ้าหน้าที่ กรรมการบริหารศูนย์ กรรมการกลุ่ม สมาชิก อปท. 6.ปัจจัยนำเข้า 6.1 คน เจ้าหน้าที่ กรรมการบริหารศูนย์ กรรมการกลุ่ม สมาชิก อปท. สมาชิกกลุ่ม แรงงานในพื้นที่ ต่อ
เครื่องชั่งคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สื่อสาร 6.ปัจจัยนำเข้า 6.2. เทคโนโลยี เครื่องชั่งคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สื่อสาร ต่อ
6.ปัจจัยนำเข้า 6.3. วัตถุดิบ อาคารสำนักงาน ลานเท 6.4. เงิน งบประมาณ 3,500,000 บาท จุดคุ้มทุน 2 ปี ระยะเวลา 6 เดือน (มกราคม – เดือนมิถุนายน 2550) ต่อ
ขอบคุณครับ