ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
ระบบข้อมูล/ระบบ GIS รพ.สต.
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
การพัฒนาระบบส่งต่อ การดูแลสุขภาพเขตเมือง
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
ข้อมูลที่จัดเก็บประกอบด้วย
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
กรอบแนวคิด การทำ Service Plan ระดับปฐมภูมิ จังหวัดเพชรบุรี (ระยะเริ่มต้น)
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
รพสต ชุดบริการ.
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ทางออกการจัดการปัญหา คนพิการเชิงรุก นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 10.
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การลงข้อมูลให้สมบูรณ์ และได้แต้ม
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
NAMPHONG DATA SYSTEM(NDS 1.0) by Samak Sonpirom
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
Unity Team (รวมกันเป็นหนึ่งเดียว) การทำงานร่วมกันและดำเนินงาน
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
โครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.

การใช้งานโปรแกรม JHCIS ใช้จัดทำระบบบริการแบบ One Stop Service (มีการตรวจรักษาและบันทึกข้อมูลทันทีในขณะให้บริการ จ่ายยา และปริ๊นท์ไปสั่งยาได้ทันที) (ควรมีภาพ หรือผังแสดงขั้นตอนในการให้บริการ) นำเสนอผลจากการใช้ JHCIS ประชาชนได้รับการบริการที่สะดวก รวดเร็ว (สืบค้นประวัติการรักษา ประวัติการเจ็บป่วย การแพ้ยา ข้อมูลครอบครัวได้อย่างรวดเร็ว) ระบบข้อมูลครบถ้วน เป็นปัจจุบัน เพื่อใช้ในการจัดบริการทั้งเชิงรับ เชิงรุก (ค้นหากลุ่มเป้หมายได้รวดเร็ว) (1) ทะเบียนผู้พิการที่ update ทุกวัน (บันทึกเข้าไปในระบบ) การเยี่ยมบ้าน (2) ทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง update ทุกวันที่มารับบริการ (3) ทะเบียนหญิงตั้งครรภ์ update ทุกวันวันที่มารับบริการ (4) ทะเบียนภาวะโภชนาการ (เด็ก 0-5 ปี) Update ทุกวัน (5) ทะเบียนผู้สูงอายุ update ข้อมูลเฝ้าระวังทางระบาดวิทยามีคุณภาพ(ครบถ้วน ถูกต้อง) ส่งได้ทุกวัน (แสดงความทันเวลา) ส่งข้อมูล 18 แฟ้ม ครบถ้วน ทันเวลา นำเสนอจำนวนเงินที่ได้รับจากข้อมูล OP/PP ลดระยะเวลาในการจัดทำรายงาน เช่น........

การใช้ข้อมูลระบบ GIS ใช้ในการเฝ้าระวังและควบคุมโรค =>นำเสนอข้อมูลโรคที่เป็นปัญหา เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ ฯลฯ (แสดงพิกัดหลังคาบ้านที่มีผู้ป่วยบ้าน อสม.ที่รับผิดชอบ ชื่อหมอประขำบ้าน =>แสดงลักษณะการแพร่กระจาย เชื่อมโยงการเฝ้าระวัง และมาตรการในการควบคุมโรคตามหลักระบาดวิทยา) ใช้ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังแบบเอื้ออาทร เชื่อมโยงข้อมูลพิกัดบ้านผู้ป่วย อสม.ที่รับผิดชอบ หมอประจำบ้าน =>อธิบายการดูแลที่บ้าน ชุมชน และการรับบริการที่สถานบริการ (อาจเชื่อมโยงตั้งแต่ผู้ป่วย ญาติ อสม. จนท.) การใช้ข้อมูล GIS ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์แบบเอื้ออาทร เชื่อมโยงการคาดคะเนการคลอด(EDC)ของหญิงตั้งครรภ์ ในเดือนปัจจุบันรายหมู่บ้าน เชื่อมโยงข้อมูลพิกัดบ้านผู้ป่วยหญิงตั้งครรภ์ บ้าน/ชื่อ อสม.ที่รับผิดชอบ หมอประจำบ้าน และเชื่อมโยงถึงการรับบริการที่สถานบริการ หรือพาหญิงตั้งครรภ์ไปทัวร์ห้องคลอดฯลฯ

ระบบการคืนข้อมูลผู้ป่วยจากโรงพยาบาลแม่ข่าย แสดงข้อมูลที่ได้รับจากโรงพยาบาล (ข้อมูลอะไรบ้าง ส่งให้ รพ.สต.อย่างไร) การวิเคราะห์ข้อมูล=> วิเคราะห์จากโรค 30 อันดับแรก จำแนกโรค/สาเหตุอะไรบ้าง(โรคที่สามารถดูแลในระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ) ลักษณะผู้ป่วย(อายุ เพศ) ที่อยู่ สิทธิ ค่าใช้จ่าย เวลาไปที่ รพ.(ในเวลาราชการหรือนอกเวลาราชการ) นำไปวางแผนในการติดตามเยี่ยม ดูแลผู้ป่วย พร้อมศึกษาข้อมูล บริบท ความเชื่อทัศนคติในการใช้บริการ =>แสดงแผนในการเยี่ยม นำเสนอผลจากการไปเยี่ยมบ้าน รวมทั้งคาดคะเนว่าจะสามารถลดจำนวนผู้ป่วยที่ไปโรงพยาบาล

ระบบการให้คำปรึกษาทางใกลโดย Web cam นำเสนอความพร้อมของอุปกรณ์ (Hardware,Software,Peopleware) => เครื่องคอมพิวเตอร์ กล้อง ไมค์ ระบบ Internet โปรแกรม(Skype/MSN) ผู้รับผิดชอบ สถานที่/ห้องใน รพ.สต. และ สถานที่ในโรงพยาบาล ชื่อพยาบาล/แพทย์ที่รับผิดชอบใน รพ. แสดงให้เห็นว่ามีการเตรียมความพร้อมในการใช้งาน =>โดยการทดสอบความพร้อมของการใช้งานทุกวัน(ระบุเวลาที่นัดหมายกับ รพ.) มีการบันทึกผลการทดสอบในแบบฟอร์ม(เพื่อเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์) มีการบันทึกผลการให้คำปรึกษา (ถ้าไม่มีบอกเหตุผล กรณีไม่มี /ปัญหาอุปสรรค)

ตัวอย่าง GIS

จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่มี EDC ในเดือนมิถุนายน 2553 จำแนกรายหมู่บ้าน ตำบลสุมเส้า อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี

หญิงตั้งครรภ์