งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
อุเทน หาแก้ว นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

2 การจัดการข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
1.ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการจัดบริการใน รพ.สต. โปรแกรม/ระบบข้อมูล/รายงาน สำหรับการจ่ายเงินชดเชย - OP/PP individual record (ข้อมูล 18 แฟ้ม, 12+8 แฟ้ม) - E-Claim - PPIS (ระบบการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง) - Sealant Program (กองทันตฯ กรมอนามัย) - Pap-registry (กรมการแพทย์) - โปรแกรม Depression (กรมสุขภาพจิต) - แบบรายงานที่กำหนดโดย สปสช. ( TSH ) ระบบ GIS ประมวลผล/วิเคราะห์ข้อมูล

3 การจัดการข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
2 ข้อมูลสารสนเทศสำหรับภาคี และประชาชน ข้อมูลสารสนเทศสำหรับภาคี อสม./โรงเรียน อสม. อปท. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สารสนเทศสำหรับประชาชน ให้สุขสุขศึกษา / ประชาสัมพันธ์

4 การบริหารจัดการงบ P&P
P&P Capitation ( บาทต่อหัวปชก.ทุกสิทธิ ล้านคน) คำนวณจาก บาทต่อปชก.สิทธิ UC จำนวน ล้านคน NPP &Central Procurement (15.17) P&P Area based (58.41) P&P Expressed demand (125.64) บริหารแบบเขตบริการสุขภาพภายใต้ อปสข. Itemized 10 รายการ (31.79) Capitation (93.85) Area problem (18.41) กองทุน อปท. (40.00) Diff. by age group หักเงินเดือน หน่วย บริการ CUP

5 P&P Expressed Demand 1. จัดบริการ P&P : รายบุคคลตามชุดสิทธิประโยชน์ โดยหน่วยบริการ ซึ่งดำเนินการทั้งในและนอกหน่วย บริการ 2. การจัดสรรแบ่งออกเป็น 2 ส่วน 2.1 เหมาจ่ายรายหัว Capitation จัดสรรรายไตรมาส ( 25 %)หน่วยบริการรัฐนอกสังกัด สธ. /เอกชน จัดสรรพร้อม OP/IP 2.2 ตามผลการให้บริการ Itemization

6 P&P Expressed Demand (Capitation )
1. การฝากครรภ์ 2. การตรวจหลังคลอด 3. การให้ภูมิคุ้มกันโรคในทุกช่วงอายุ 4. การดูแลสุขภาพและพัฒนาการตามวัยเด็ก 5. บริการวางแผนครอบครัว 6. การดูแลสุขภาพช่องปาก 7. บริการตรวจคัดกรองและการปรับพฤติกรรมสุขภาพทุกกลุ่มวัย 8. บริการให้สุขศึกษา ความรู้ คำแนะนำ 9. บริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันปัญหาด้านสุขภาพจิต 10. บริการอนามัยโรงเรียน 11. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

7 P&P Expressed Demand (Itemization)
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดการเข้าถึงบริการ P&P ที่จำเป็นอย่างเท่าเทียม 2. เพื่อให้เกิดคุณภาพการบริการ P&P และการดูแลอย่างต่อเนื่อง 3. เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพการจัดบริการ P&P เชิงรุกของหน่วยบริการปฐมภูมิ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ่ายชดเชย 1. ต้องมีการบันทึกข้อมูลการให้บริการรายบุคคลครบถ้วนตามที่กำหนด 2. ต้องมีระบบการกำกับ ติดตาม ประเมินผล รวมทั้งการตรวจสอบการให้บริการ ( Clinical & Financial Audit )

8 P&P Expressed demand – Itemized(1)
กิจกรรม Total Target pop ราคากลาง (บาท) 1 ANC 329,963 (คน) ทุกสิทธิ •ANC ครั้งแรกอายุครรภ์<= 12 wk. 500 บาท/คน  * 131,985 (คน) เฉพาะสิทธิประกันสังคม (ส่งเงินไม่ครบ 7 เดือน) •ANC ครั้งแรกรายละ 1,200 บาท •ANC ครั้งต่อไปรายละ 400 บาท 2 PNC 516,942 (คน) ยกเว้นสิทธิ ขรก. • รายละ 150 บาท (ไม่รวมคัดกรองมะเร็งปากมดลูก) 3 FP* เฉพาะสิทธิประกันสังคม & สวัสดิการราชการ (ยาเม็ด = 183,661 คน, ยาฉีด = 41,995 คน, ห่วง = 1,622 คน, ยาฝัง = 585 คน) ยาเม็ด = 40 บาท, ยาฉีด = 60 บาท, ห่วง = 500 บาท , ยาฝัง = 2,200 บาท (ต่อคนต่อครั้ง) 4 ค่าฉีด Vaccine (ยกเว้น OPV) 10,359,009 (ครั้ง) ทุกสิทธิ 10 บาท/ dose(ครั้ง) (สำหรับค่าวัสดุการฉีด ส่วนวัคซีนเบิกจากสปสช.ตามระบบ VMI ) 5 TSH* 659,927 (ครั้ง) ทุกสิทธิ - ตรวจครั้งแรก140 บาท/คน (โดยใช้กระดาษซับ) TSH 6,599 (ครั้ง) ทุกสิทธิ - การตรวจยืนยัน 250 บาท/คน(โดยตรวจจากซีรั่ม) 6 การตรวจสุขภาพช่องปากในเด็กอายุ 6-12 ปี* ทุกสิทธิ - การตรวจฟัน ป.1, ป.3, ป.6 2,400,000 (คน) 7บาท/คน - เคลือบหลุมร่องฟัน(Sealant) ป.1,ป.6 เป้าหมาย 50 % ในเด็ก ป. 1 =400,000 คน เป้าหมาย 20 % ในเด็ก ป.6 =160,000 คน รวม 560,000 คนๆ 2 ซี่ 130 บาท/ชี่

9 P&P Expressed demand – Itemized(2)
กิจกรรม Total Target pop ราคากลาง (บาท) 7 ตรวจคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยง 4 โรค * DM HT Stroke Obesity (confirm screening) 4,400,000 ทุกสิทธิ 50 บาท/คน 8 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรค * *DM,HT,Stroke,Obesity 200,000 < 2000 บาท/คน 9 คัดกรองมะเร็งปากมดลูก* เฉพาะ สิทธิ UC & SSS - คัดกรองด้วยวิธี VIA 100,000 70 บาท/คน -จี้เย็น 3,000  160 บาท/คน -คัดกรองด้วยวิธี Pap Smear 1,991,600 250 บาท/คน 10 ตรวจคัดกรองและประเมินโรคซึมเศร้า 1.ประเมินภาวะซึมเศร้า (ด้วยแบบ 9 คำถาม เมื่อผลการคัดกรองด้วย 2 คำถาม+ve) 148,800 300 บาท/ราย 2. ประเมินการฆ่าตัวตายด้วยแบบ 8 คำถาม เมื่อคะแนนการประเมิน 9 คำถาม >=7) 3.ให้สุขภาพจิตศึกษาปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมในรายที่ผล 9Q,8Q +ve และส่งต่อเพื่อการบำบัดรักษา

10 การบริหารจัดการแบบ Itemized
ข้อมูลสำหรับจ่ายเงินใช้ จากระบบข้อมูล Individual data ที่มีอยู่ ได้แก่ 1. OP/PP individual record (ข้อมูล 18 แฟ้ม, 12+8 แฟ้ม) 2. E-Claim 3. PPIS (ระบบการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง) 4. Sealant Program (กองทันตฯ กรมอนามัย) 5. Pap-registry (กรมการแพทย์) 6. โปรแกรม Depression (กรมสุขภาพจิต) 7. แบบรายงานที่กำหนดโดย สปสช. ( TSH )

11 สำหรับการจ่าย itemized
โปรแกรม สำหรับการจ่าย itemized ในรายการ 1. e - Claim ANC <= 12 wk. ANC ประกันสังคมส่งเงิน ไม่ครบ 7 เดือน PNC (สิทธิ UC & SSSส่งเงินไม่ครบ 7 เดือน FP ( CUP) 2. ข้อมูล และ 18 แฟ้ม FP ( สอ.) วัคซีน EPI (ยกเว้น OPV) 3. PPIS คัดกรองความเสี่ยง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

12 ขั้นตอนการรับ-ส่งข้อมูลจาก โปรแกรม e-Claim ,PPIS,12+8 & 18 แฟ้ม
สปสช (3) ส่งกลับข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ไปยังหน่วยบริการ ผ่านweb หน่วยบริการ/สถานพยาบาล สำนัก IT (1) ส่งข้อมูล (1) เฉพาะข้อมูล 18 แฟ้ม (2) ส่งข้อมูล 18 แฟ้ม (6)โอนเงิน (3) ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ (4) ปฎิเสธการจ่าย สสจ. สำนักชดเชยฯ (4) ปฎิเสธการจ่ายผ่าน web (ไม่ ตรงตามเงื่อนไข ) (4) แจ้งจัดสรรค่าบริการ ( ตรงตามเงื่อนไข ) สำนักบริหารกองทุน (5)โอนงบประมาณตามผลงาน

13 หน่วยบริการตรวจสอบข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง
การส่งกลับข้อมูลที่ไม่ผ่านการตรวจสอบเบื้องต้น (จากสำนัก IT) โปรแกรม หน่วยบริการตรวจสอบข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง (สำนัก IT ส่งกลับ) 1. e-Claim 2. PPIS & 18 แฟ้ม

14 สำหรับการจ่าย itemized
โปรแกรมที่พัฒนา โดยกรมวิชาการ โปรแกรม สำหรับการจ่าย itemized ในรายการ 1. Sealant Program (กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย) การตรวจสุขภาพช่องปาก และ เคลือบหลุมร่องฟัน 2. Cervical Screening Program (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์) การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี Pap smear & VIA 3. โปรแกรมสารสนเทศการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าระดับจังหวัด (กรมสุขภาพจิต) การดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าใน ผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรัง 4. TSH (กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์) การตรวจคัดกรอง TSH

15 ระยะเวลาการจ่ายชดเชยบริการ
 รายการที่จัดส่งข้อมูลผ่านโปรแกรม e-claim จัดสรรเป็นรายเดือน(โอนงบให้หน่วยบริการโดยตรง) พร้อมข้อมูล OP/IP  รายการที่จัดส่งข้อมูลผ่านโปรแกรมต่างๆ จัดสรรเป็นรายไตรมาส (โอนงบผ่านสสจ.) (ยกเว้น ข้อมูลจาก Sealant Program จัดสรรผ่านสสจ.เป็นรายเดือน)

16 ตรวจสอบข้อมูลและจัดส่งแก่ แจ้งการจัดสรรแก่ สบก.ภายในวันที่
ระยะเวลาการตัดข้อมูล-ตรวจสอบและการจ่ายชดเชยค่าบริการ (รายไตรมาส) สำหรับโปรแกรมที่ดูแล&พัฒนาโดย สำนัก IT สปสช. ไตรมาสที่ สำนัก IT ตัดข้อมูลทุกโปรแกรม ในวันที่ ตรวจสอบข้อมูลและจัดส่งแก่ สำนักชดเชย ภายในวันที่ แจ้งการจัดสรรแก่ สบก.ภายในวันที่ สบก. จ่ายชดเชยค่าบริการ 1 (1ตค.52-31ธค. 52) 31ธค.52 20 มค.53 31 มค.53 15 กพ.53 2 (1มค.-31มีค.53) 31มีค.53 20 เมย.53 30 เมย.53 15 พค.53 3 (1เมย.-30มิย. 53) 30มิย.53 20 กค.53 31 กค.53 15 สค.53 4 (1กค.-30กย.53) 31 ตุค. 53 20 พย.53 30 พย.53 15 ธค.53

17 ระยะเวลาการรับ-ส่งข้อมูลและการจ่ายชดเชยค่าบริการ (รายไตรมาส) สำหรับโปรแกรมที่พัฒนาโดยกรมวิชาการ
ไตรมาสที่ กรมวิชาการ ตัดข้อมูล&ส่งสำนัก IT สปสช. สำนัก IT* ตรวจสอบ (รับ-ส่ง)ข้อมูลและจัดส่งแก่ สำนักชดเชย ภายในวันที่ แจ้งการจัดสรรแก่ สบก.ภายในวันที่ สบก.** โอนเงินภาย ในวันที่ 1 (1ตค.52-31ธค. 52) 10 มค.53 20 มค.53 31 มค.53 15 กพ.53 2 (1มค.53-31มีค.53) 10 เมย.53 20 เมย.53 30 เมย.53 15 พค.53 3 (1เมย.53-30มิย. 53) 10 กค.53 20 กค.53 31 กค.53 15 สค.53 4 (1กค.53-30กย.53) 10 พย.53 20 พย.53 30 พย.53 15 ธค.53 * สำนัก IT ตรวจสอบข้อมูลจากกรมและส่งกลับข้อมูลที่ไม่ถูกต้องภายในวันที่ 15 มค. 15 เมย. 15 กค. & 15 พย.53 ** ยกเว้น ข้อมูลจาก sealant program โอนงบประมาณเป็นรายเดือน

18 (58.41 บาทต่อหัวปชก.ทุกสิทธิ 4,797,642 คน)
PPA (58.41 บาทต่อหัวปชก.ทุกสิทธิ 4,797,642 คน) PPA 2 : บ./ปชก.(31.52%) PPA 1 : 40 บ./ปชก.(68.48%) จว บ./ปชก. 64,336, บาท PPA เขต 0.60 บาท/ปชก. 2,878, บาท คณะทำงานเขต 4.40บาท/ปชก. 21,109, บาท กองทุน อปท. (40.00) แก้ไขปัญหา จว 12.41 บาท/ปชก. 59,538,737.22บาท รณรงค์ P&P 0.40 บาท/ปชก. 1,919, บาท พัฒนาองค์กรภาคี 0.40บาท/ปชก. 1,919, บาท คทง.PP 4.00บาท/ปชก. 19,190, บาท ไอโอดีน ไตวาย มะเร็งตับ ทันตฯ เบาหวาน จัดสรรตามผลงาน 1.00 บาท/ปชก. 4,797,642 บาท ประเมินผล 0.20บาท/ปชก. 959, บาท

19 P&P Area – based แนวคิดและหลักการ วัตถุประสงค์
1. ดำเนินการภายใต้หลักเกณฑ์ เงื่อนไขการจัดสรรโดย อปสข. เน้นการกระจายอำนาจการบริหารจัดการในระดับพื้นที่ 2. เป็นการดำเนินงานร่วมกันระหว่าง สปสช. เขต และ เขตตรวจราชการสาธารณสุข ภายใต้รูปแบบคณะกรรมการระดับเขต โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ ท้องถิ่น เอกชน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในระดับจังหวัดและเขต 2. เพื่อสนับสนุนและจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 3. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน กระตุ้นให้หน่วยบริการจัดบริการเชิงรุกในชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและชุมชนให้ประชาชนเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ 4. เพื่อกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน ให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด

20 P&P Area – based แนวทางการจัดสรร เป็นการจัดสรร Global ระดับเขต (สปสช.)
1. จัดสรร 40 บาท/ปชก. เพื่อสนับสนุนการจัดตั้งกองทุนฯตำบล 2. จัดสรร บาท/ปชก. และส่วนที่เหลือจากการจัดสรรจัดตั้งกองทุนฯ แก่หน่วยบริการ หน่วยงานหรือองค์กรที่ดำเนินงาน P&P และ สปสช. สาขาจังหวัด โดยใช้ประชากรทุกสิทธิ ณ 1 ก.ค. 52 คำนวณ ดังนี้ - สิทธิ UC และ SSS ข้อมูลลงทะเบียน - สิทธิสวัสดิการ ขรก. ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ขั้นตอนการจัดสรร รอบแรก 1. สปสช. แจ้งยอดจัดสรรภายใน ส.ค. 52 เขตทำแผนการจัดสรรงบประมาณภายในสิ้น ต.ค. 52 ในส่วน บาท/ปชก. 2. ส่วนกองทุนฯตำบลเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของภาคี (ส่งยอดกองทุนภายใน พ.ย. 52) รอบสอง งบเหลือจัดสรรกองทุนฯตำบล เขตจัดทำแผนการจัดสรรงบรอบสองภายใน ธ.ค. 52

21 P&P Area – based ขอบเขตกิจกรรม
1. แก้ไขปัญหาด้านสุขภาพในพื้นที่ 2. ดำเนินการส่งเสริม สนับสนุน กระตุ้นหน่วยบริการจัดบริการเชิงรุกเพื่อให้ ปชช. เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ 3. สนับสนุนและแก้ไขปัญหาเพื่อให้บรรลุตามตัวชี้วัดหรือนโยบายด้าน P&P 4. การจัดซื้อครุภัณฑ์ที่จำเป็นสำหรับงาน P&P ไม่เกิน 10% ของงบประมาณที่หน่วยงานได้รับและต้องเสนอ อปสข. เพื่อพิจารณาเห็นชอบ 5. กิจกรรมที่ห้ามดำเนินการ ได้แก่ การศึกษาดูงาน การจัดซื้อ จัดหาที่ดิน สิ่งก่อสร้าง

22 จัดโครงสร้างงบ PPA (18.41 บ./ปชก.) แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
แก้ไขปัญหา สธ. ระดับจังหวัด บ./ปชก. โดย จัดสรรให้เป็น Global จังหวัด ดำเนินการแก้ไขปัญหา ระดับจังหวัด และจ่ายตามผลงาน การรรณงค์และติดตามประเมินผล บ./ปชก. บริหารจัดการ โดย สปสช. เขต แก้ไขปัญหา สธ. ระดับเขต 4.40 บ./ปชก. เน้นการPrevention ในกลุ่มเป้าหมายหลัก ดำเนินการภายใต้คทง.แต่ละด้าน

23 การกำกับติดตามประเมินผล P&P
1. แผนการจัดสรร/การเบิกจ่ายงบประมาณ 2. ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด(Composite Indicator) 3. การกำกับติดตาม การดำเนินงานเขต/จังหวัดโดยคณะทำงานร่วม สปสช. และ สธ. 4. Audit (Financial & Quality)

24 ที่ไม่หลับหรือหลับแต่ไม่กรน
ขอขอบคุณ ที่ไม่หลับหรือหลับแต่ไม่กรน สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google