งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Unity Team (รวมกันเป็นหนึ่งเดียว) การทำงานร่วมกันและดำเนินงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Unity Team (รวมกันเป็นหนึ่งเดียว) การทำงานร่วมกันและดำเนินงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 Unity Team (รวมกันเป็นหนึ่งเดียว) การทำงานร่วมกันและดำเนินงาน
ตามหน้าที่ในส่วนที่รับผิดชอบ (รวมกันเป็นหนึ่งเดียว)

3

4 ชุมชนเป็นศูนย์กลางการทำงาน
Community ชุมชนเป็นศูนย์กลางการทำงาน

5 การดูแล พัฒนาและสร้างความพึงพอใจของบุคลากร (สร้างคุณค่าและยกย่องชมเชย)
Appreciation การดูแล พัฒนาและสร้างความพึงพอใจของบุคลากร (สร้างคุณค่าและยกย่องชมเชย)

6 Resource Sharing And Human development
การใช้ทรัพยากรร่วมกันและพัฒนาบุคลากร เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (แบ่งปันทรัพยากร)

7 การจัดระบบดูแลสุขภาพพื้นฐาน ที่จำเป็นในแต่ละกลุ่ม ตามบริบทของชุมชน
Essential Care การจัดระบบดูแลสุขภาพพื้นฐาน ที่จำเป็นในแต่ละกลุ่ม ตามบริบทของชุมชน

8 การจัดทีมสุขภาพ/นสค./หมอครอบครัว
รพ.ทรายมูล แพทย์ แพทย์ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร กายภาพบำบัด เทคนิกการแพทย์ พยาบาลวิชาชีพ เครือข่ายที่ 1 เครือข่ายที่ 2 เครือข่ายที่ 3 รพ.สต.ไผ่ ศูนย์สุขภาพชุมชน รพ.สต.ดงมะไฟ รพ.สต.ดู่ลาด รพ.สต.โคกยาว รพ.สต.คำครตา รพ.สต.สีสุก รพ.สต.นาเวียง ปชก. 8,241 คน รพ.สต.โคกกลาง รพ.สต.หนองแวง ปชก. 7,807 คน ปชก. 7,627 คน

9 ระบบหมอครอบครัวในชุมชน
นักสุขภาพครอบครัว หมู่บ้านที่ 1 หมู่บ้านที่ 2 หมู่บ้านที่ 3 นายกเทศมนตรี/นายก อบต./อบต. , กำนัน/ผญบ./ผช.ผญบ. , หน่วยราชการ, วัด, โรงเรียน(ครู/อาจารย์), ภาคประชาชน, เยาวชน อสม.(นักบริบาลชุมชน) อสม.(นักบริบาลชุมชน) อสม.(นักบริบาลชุมชน) แม่และเด็ก0-5 ปี แม่และเด็ก0-5 ปี แม่และเด็ก0-5 ปี เด็กวัยเรียน/วัยรุ่น เด็กวัยเรียน/วัยรุ่น เด็กวัยเรียน/วัยรุ่น วัยทำงาน วัยทำงาน วัยทำงาน ผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้พิการ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง ผู้ป่วยประคับประคอง ผู้ป่วยประคับประคอง

10 การจัดระบบดูแลสุขภาพตามกลุ่มอายุ
แม่และเด็กแรกเกิด – 5 ปี ผู้สูงอายุ เด็กนักเรียน (5-14 ปี) ผู้พิการ ผู้ป่วยในระยะประคับประคอง วัยรุ่น (15-21 ปี) วัยทำงาน (21-59 ปี)

11 แม่และเด็กแรกเกิด – 5 ปี
จัดการช่วยเหลือหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง เฝ้าระวังพัฒนาการอายุแรกเกิด - 5 ปี และการช่วยเหลือเด็กที่พัฒนาการล่าช้า จัดการปัญหาแม่และเด็ก ภาวะโภชาการ (อาหาร , น้ำหนัก , ส่วนสูง) พัฒนาการสมวัย (IQ , EQ) ได้รับวัคซีน ศูนย์เด็กเล็กในชุมชนที่ได้มาตรฐาน

12 เด็กนักเรียน (6-14 ปี) ภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน (อาหาร, น้ำหนัก, ส่วนสูง) อ้วน ผอม เตี้ย การแก้ปัญหาการเสียชีวิตของเด็ก (อายุต่ำกว่า 15 ปี) จากการจมน้ำตาย

13 วัยรุ่น (15-21 ปี) การป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
และการตั้งครรภ์ซ้ำ การแก้ปัญหาพฤติกรรมความเสี่ยงในวัยรุ่น สูบบุหรี่ ดื่มสุรา เสพยา มั่วสุ่ม ซิ่งรถ

14 วัยทำงาน (21-59 ปี) การป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน , ความดันโลหิตสูง , โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง แก้ปัญหาการดื่มสุรา และสูบบุรี่ ป้องกันอุบัติเหตุทางถนน

15 ผู้สูงอายุ คัดกรอง/ประเมินสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ ติดสังคม
ติดบ้าน ติดเตียง ปัญหาสุขภาพ หกล้ม ความจำ กลั้นปัสสาวะ โภชนาการ ซึมเศร้า ข้อเข่าเสื่อม การนอน มีการดูแลผู้สูงอายุที่ครบวงจรในหน่วยบริการ หรือในชุมชน

16 ผู้พิการ ดูแลสุขภาพผู้พิการ ขึ้นทะเบียน การช่วยเหลือ/ไม่ทอดทิ้งกัน
เยี่ยมบ้าน/ดูแลรักษาสุขภาพ ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พ้นระยะวิกฤติ

17 ผู้ป่วยในระยะประคับประคอง
ผู้ป่วยโรคหัวใจ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง มารดาหรือทารกที่มีภาวะวิกฤต ผู้ป่วยมะเร็ง ผู้ป่วยโรคไต ผู้ป่วยโรคตับ ผู้ป่วยที่เกิดจากอุบัติเหตุ

18 อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนตลอดไป
สิ่งที่อยากให้เกิด... ในอำเภอทรายมูล อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนตลอดไป

19 มีคณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอทรายมูล
ระดับอำเภอ มีคณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอทรายมูล นายอำเภอ หัวหน้าส่วนราชการ ผอ.รพ.ทรายมูล , สาธารณสุขอำเภอ นายกเทศมนตรี/นายก อบต. กำนัน / ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้แทน อสม. มีทีมสุขภาพระดับอำเภอ (ออกเยื่ยมบ้าน) แพทย์ เป็นที่ปรึกษา ทีมสหวิชาชีพ (ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ นักกายภาพบำบัด นักเทคนิคการแพทย์ นักแพทย์แผนไทย นวก.สธ. นักสุขภาพครอบครัว (จนท.รพ.สต.)

20 ระดับอำเภอ (ต่อ) มีแผนงาน/โครงการในการดำเนินงาน
แผนงานที่ 1 ผู้สูงอายุ แผนงานที่ 2 ผู้พิการ แผนงานที่ 3 ผู้ป่วยในระยะประคับประคอง แผนงานที่ 4 การดูแลหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และเด็กแรกเกิดถึง5ปี แผนงานที่ 5 การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น แผนงานที่ 6 การป้องกันปัญหาในวัยรุ่น (ยาเสพติด , สุรา , บุหรี่ , มั่วสุม , ซิ่งรถ) แผนงานที่ 7 การควบคุมโรคไข้เลือดออก แผนงานที่ 8 การคุ้มครองผู้บริโภค (ยา , อาหาร , เครื่องสำอาง , อาหารเสริม) แผนงานที่ 9 การควบคุมโรคอ้วนและภาวะเตี้ยในเด็กนักเรียน แผนงานที่ 10 อุบัติเหตุ จัดสรร/สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน

21 ระดับอำเภอ (ต่อ) มีการประชุมวางแผน/ติดตามงานในพื้นที่ (4 ครั้ง/ปี)
ขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการ รับทราบปัญหา/อุปสรรค มีแนวทางแก้ไขปัญหา (ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมประเมินผล) สนับสนุนการทำงานในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดำเนินงาน

22 มีทีมสุขภาพระดับตำบล
นักสุขภาพครอบครัว (จนท.รพ.สต.) นายกทศมนตรี/นายก อบต. / กำนัน ในตำบล ผู้แทนโรงเรียนในตำบล ผู้แทนหน่วยราชการในตำบล วัด/ปราชญ์ชาวบ้าน ภาคีเครือข่ายภาคประชาชน / เยาวชน ผู้แทน อสม.ในตำบล

23 มีทีมสุขภาพระดับชุมชน (หมู่บ้าน)
นักสุขภาพครอบครัว (จนท.รพ.สต.) กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน/ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ผู้แทนโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็กในหมู่บ้าน ผู้แทนหน่วยราชการในตำบล วัด/ปราชญ์ชาวบ้าน ภาคีเครือข่ายภาคประชาชน / เยาวชน อสม.-นักบริบาลชุมชน

24 ระดับชุมชน (ต่อ) 1. จัดองค์กรโครงสร้างรับผิดชอบ
2. สำรวจข้อมูลเพิ่มเติมโดยการลงพื้นที่พร้อมกับ อสม.ทุกคน แยกหมู่บ้าน 3. นำข้อมูลที่ได้มาแยกจัดหมวดของกลุ่มตามกลุ่มเป้าหมาย 4. จัดทำทะเบียนเพื่อเก็บข้อมูลและจัดทำแบบให้คำแนะนำ พร้อมบันทึกข้อตกลงของ นสค.ทุกหลังคาเรือน หรือบัตรหมอครอบครัว 5. คืนข้อมูลให้กับชุมชนโดยชุมชนและวิเคราะห์ปัญหา 6. วิเคราะห์ปัญหาแยกรายหมู่บ้าน 7. สรุปปัญหาแยก 4 ระดับ คือ 7.1 ปัญหาสภาพตัวบุคคล 7.2 ปัญหาระดับครอบครัว 7.3 ปัญหาระดับหมู่บ้าน 7.4 ปัญหาระดับตำบล

25 ระดับชุมชน (ต่อ) มีแผนงาน/โครงการในการดำเนินงาน
แผนงานที่ 1 ผู้สูงอายุ แผนงานที่ 2 ผู้พิการ แผนงานที่ 3 ผู้ป่วยในระยะประคับประคอง แผนงานที่ 4 การดูแลหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และเด็กแรกเกิดถึง5ปี แผนงานที่ 5 การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น แผนงานที่ 6 การป้องกันปัญหาในวัยรุ่น (ยาเสพติด , สุรา , บุหรี่ , มั่วสุม , ซิ่งรถ) แผนงานที่ 7 การควบคุมโรคไข้เลือดออก แผนงานที่ 8 การคุ้มครองผู้บริโภค (ยา , อาหาร , เครื่องสำอาง , อาหารเสริม) แผนงานที่ 9 การควบคุมโรคอ้วนและภาวะเตี้ยในเด็กนักเรียน แผนงานที่ 10 อุบัติเหตุ ขอรับสนับสนุนงบประมาณ (สธ. , อปท. , วัด , ชุมชน)

26 ออกเยี่ยมบ้าน/ติดตาม
ระดับชุมชน (ต่อ) ออกเยี่ยมบ้าน/ติดตาม แม่และเด็กอายุ 0-5 ปี เด็กนักเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยในระยะประคับประคอง

27 ดูแลรักษาอย่างใกล้ชิด
ระดับชุมชน (ต่อ) ดูแลรักษาอย่างใกล้ชิด กลุ่มผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียง มีปัญหาสุขภาพดูแลตัวเองไม่ได้ กลุ่มผู้พิการ ติดบ้าน ติดเตียง ดูแลตัวเองไม่ได้ กลุ่มผู้ป่วยในระยะประคับประคอง

28 สิ่งที่ต้องทำให้เห็นเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์
จัดทำฐานข้อมูลตามกลุ่มอายุ กลุ่มปกติ กลุ่มผิดปกติ กลุ่มเสี่ยง ส่งต่อรักษา หายหรือไม่/ดูแลอย่างไร จัดทำข้อมูลบริการ การเยี่ยมบ้าน และดูแลอย่างใกล้ชิด เยี่ยมบ้าน /ดูแลรักษาอย่างไร พร้อมบันทึกภาพเป็นหลักฐานการทำงาน คืนข้อมูลให้ชุมชน และหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน ประชุมอสม. , แกนนำหมู่บ้าน , ประชาคม , สร้างภาคีเครือข่าย


ดาวน์โหลด ppt Unity Team (รวมกันเป็นหนึ่งเดียว) การทำงานร่วมกันและดำเนินงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google