งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรอบแนวคิด การทำ Service Plan ระดับปฐมภูมิ จังหวัดเพชรบุรี (ระยะเริ่มต้น)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรอบแนวคิด การทำ Service Plan ระดับปฐมภูมิ จังหวัดเพชรบุรี (ระยะเริ่มต้น)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนพัฒนาการจัดบริการสุขภาพ ระดับปฐมภูมิ จังหวัดเพชรบุรี “ Service Plan”

2 กรอบแนวคิด การทำ Service Plan ระดับปฐมภูมิ จังหวัดเพชรบุรี (ระยะเริ่มต้น)

3 สอ. 117 แห่ง จังหวัดเพชรบุรี
สอ แห่ง จังหวัดเพชรบุรี รพ.สต. รูปแบบ องค์ประกอบพิจารณา กำลังคน อาณาเขต/ที่ตั้ง จำนวนประชากร ที่รับผิดชอบ - พื้นที่พิเศษ เดี่ยว เครือข่าย = 3 แห่ง = เครือข่าย 36/78 แห่ง(114แห่ง)

4 แนวคิดการพัฒนาระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ
 องค์ประกอบที่ใช้ในการพิจารณา 1) รูปแบบของ รพ.สต รพ.สต.เดี่ยว / รพ.สต.เครือข่าย 2) องค์ประกอบของทีมผู้ให้บริการ สายงาน : บริหาร รักษา ส่งเสริมป้องกัน สนับสนุนบริการ 3) ขอบเขตการให้บริการ - บริการตามบทบาทหน้าที่หลักของหน่วยบริการ ปฐมภูมิ (ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู คุ้มครอง ผู้บริโภค) - บริการที่ต้องจัดให้มีเพิ่มขึ้นตามศักยภาพที่เพิ่มขึ้น ของ รพ.สต. / บริการที่ตอบสนองต่อปัญหาพื้นที่

5 แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ
กำหนดโครงสร้างหน่วยบริการสุขภาพ  แบ่งเป็น 2 ระดับ ระดับ 1.1 : รพ.สต. ลูกข่าย = 78 แห่ง ระดับ 1.2 : รพ.สต. หลัก(เดี่ยว/แม่ข่าย) = 39 แห่ง ซึ่งต้องมีโครงสร้างกำลังคนครบทั้ง สายงาน 2. กำหนด Spec. ของหน่วยบริการ  โครงสร้างกำลังคน - ระดับ 1.2 : รพ.สต. หลัก = ต้องมีโครงสร้างกำลังคน ครบทั้ง 4 สายงาน และมีจำนวนผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

6 แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ
2. กำหนด Spec. ของหน่วยบริการ (ต่อ)  ขอบเขตการให้บริการ - ระดับ 1.2 : รพ.สต. หลัก = ต้องมีบริการที่เพิ่มขึ้น จากเดิม

7 ขอบเขตการให้บริการของ รพ.สต.
ระดับหน่วยบริการ ขอบเขตการให้บริการ รพ.สต. ระดับ 1.1  บริการเชิงรุก เชิงรับ ด้านส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู และคุ้มครองผู้บริโภคตามมาตรฐานการให้บริการแต่ละด้าน  บริการในคลินิกเฉพาะร่วมกับแม่ข่าย เช่น คลินิกโรคเรื้อรัง  บริการเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายร่วมกับทีมสหวิชาชีพจาก รพ.แม่ข่าย / รพ.สต.แม่ข่าย รพ.สต. ระดับ 1.2 บริการเชิงรุก เชิงรับทั้ง 5 ด้านเหมือน รพ.สต.ระดับ 1.1 บริการที่เพิ่มขึ้นตามศักยภาพที่เพิ่มขึ้น - ด้านรักษา : มีคลินิกโรคเรื้อรัง - ด้านส่งเสริม : คลินิก ANC และการดูแลหลังคลอด - บริการเชิงรุก : เยี่ยมบ้านแบบ Home Ward - บริการพื้นฐานอื่นๆ : ทันตกรรม แพทย์แผนไทย

8 แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ
3. กำหนดกรอบการสนับสนุนจาก CUP ระบบส่งต่อ : ให้มีช่องทางด่วนรองรับการส่งต่อ - ระบบยา & เวชภัณฑ์ : มีรายการยาตามศักยภาพ ของ รพ.สต. - ระบบข้อมูลฯ: ระบบรับ-ส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต - ระบบการให้คำปรึกษา: เป็นระบบใดก็ได้เน้นให้ ใช้บริการได้ตลอด 24 ชม. - ระบบสนับสนุนวัสดุ ครุภัณฑ์ เครื่องมือเครื่องใช้ : ตามระดับขอบเขตของ รพ.สต.

9 + + การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
เป้าหมาย : ระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิได้รับ การพัฒนาให้ได้มาตรฐาน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ แผนพัฒนาบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ แผนลงทุน วัสดุ /ครุภัณฑ์/ เครื่องมือ แผนกำลังคน + + ปี 2554 เน้น 3 บริการ คือ NCD + MCH + ทันตกรรม

10 กรอบแนวคิด การทำ Service Plan ระดับปฐมภูมิ จังหวัดเพชรบุรี ( ระยะต่อยอด)

11 ผลลัพธ์ความสำเร็จที่มุ่งหวัง
1. อัตราการเข้าถึงบริการในหน่วยบริการ ปฐมภูมิของประชาชนในพื้นที่เพิ่มขึ้น 2. อัตราการมารับบริการที่โรงพยาบาลแม่ข่าย โดยไม่ผ่านระบบส่งต่อลดลง 3. ระยะเวลาการรอคอยรับบริการของ ผู้รับบริการที่โรงพยาบาลแม่ข่ายลดลง 4. ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการที่หน่วย บริการปฐมภูมิเพิ่มขึ้น

12 แนวทางการพัฒนา 1. เพิ่มศักยภาพการให้บริการของหน่วย บริการระดับปฐมภูมิ
1. เพิ่มศักยภาพการให้บริการของหน่วย บริการระดับปฐมภูมิ 2. พัฒนารูปแบบ/ กิจกรรมบริการให้ประชาชน สามารถเข้าถึงบริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิ ได้มากขึ้น

13 ขั้นตอนการจัดทำแผนของจังหวัดเพชรบุรี
1. ประชุมผู้เกี่ยวข้องทุกระดับเพื่อกำหนดกรอบ แนวทาง/การจัดทำแผน 2. กำหนดองค์ประกอบของแผน - แผนพัฒนาโครงสร้าง หน่วยบริการปฐมภูมิ - แผนพัฒนาบริการปฐมภูมิ แผนกำลังคน แผนลงทุน (วัสดุ /ครุภัณฑ์ , สิ่งก่อสร้าง) - แผนความต้องการระบบสนับสนุนบริการสุขภาพ - แผนงบประมาณ แผนพัฒนาคุณภาพบริการ

14 ขั้นตอนการจัดทำแผนของจังหวัด (ต่อ)
3. กำหนดขีดความสามารถในการให้บริการ และศักยภาพในการพัฒนาบริการของหน่วย บริการที่จะพัฒนา (เน้นที่เพิ่มขึ้นจากเดิมที่ เป็นสถานีอนามัย) กิจกรรมบริการ กำลังคนผู้ให้บริการ (จำนวน/ ศักยภาพ) - วัสดุ ครุภัณฑ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ที่จำเป็น - สิ่งสนับสนุนจาก CUP 4. มอบหมายให้แต่ละอำเภอวิเคราะห์ตนเองและ จัดทำ Service P. ในระดับอำเภอ 5. รวมแผนระดับอำเภอเป็นแผนระดับจังหวัด

15 ข้อสรุปที่ได้จากการประชุมในระดับจังหวัดเพื่อนำไปสู่การจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิระดับ CUP และระดับจังหวัด ปี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙

16 แผนพัฒนาโครงสร้างของหน่วยบริการปฐมภูมิ
- เป้าหมายการพัฒนา ข้อเสนอแผน หน่วยบริการที่พัฒนา เป้าหมาย 1.1 แผนพัฒนาศักยภาพสถานบริการเพื่อให้ได้ตาม มาตรฐาน รพ.สต. รพ.สต.หลัก 39 แห่ง (เดี่ยว 3 + แม่ข่าย 36) 1.2 แผนพัฒนาศักยภาพสถานบริการเพื่อยกระดับ/ ขยายบริการ ศูนย์บริการสุขภาพเขตเมือง CUP เมือง (วัดพระนอน) CUP ชะอำ (เทศบาลชะอำ)

17 แผนพัฒนาโครงสร้างของหน่วยบริการปฐมภูมิ
- ขอบเขตการพัฒนา หน่วยบริการ Spec. รพ.สต. 1. มีบุคลากรปฏิบัติงานประจำผ่านเกณฑ์มาตรฐาน และครบทั้ง 4 สายงาน 2. มีบริการสุขภาพแก่ประชากรกลุ่มเป้าหมายสำคัญ ที่ครอบคลุม เป็นระบบ - กลุ่มโรคเรื้อรัง (DM/HT) - กลุ่มแม่และเด็ก - บริการทันตกรรม - บริการแพทย์แผนไทย / กายภาพบำบัด - บริการเชิงรุกในพื้นที่ (เยี่ยมบ้าน) ศูนย์บริการสุขภาพเขตเมือง 1. มีแพทย์ปฏิบัติงานประจำในเวลาทำการ 2. ให้บริการตรวจรักษาแบบบริการผู้ป่วยนอก

18 กิจกรรมบริการ (ที่เพิ่มขึ้น)
2. แผนพัฒนาบริการปฐมภูมิ: ขีดความสามารถ ในการให้บริการ 2.1 รพ.สต. : เป็นเกณฑ์ขั้นต่ำที่ต้องพัฒนาเพิ่มขึ้น จากตอนที่เป็น สอ. ประเภทบริการ กิจกรรมบริการ (ที่เพิ่มขึ้น) 1. การดูแลสุขภาพ กลุ่มโรคเรื้อรัง 1.1 มีคลินิกให้บริการตรวจรักษาผู้ป่วย โรคเรื้อรัง 1.2 การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนกลุ่มโรค metabolic - ตรวจ VA - ตรวจเท้าด้วย monofilament - เจาะเลือดส่งตรวจ HbA1C , Lipid profile, BUN,CR 1.3 จัดตั้งคลินิก DPAC

19 ประเภทบริการ กิจกรรมบริการ 2. การดูแลสุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
2.1 กลุ่มแม่ - มีคลินิก ANC - การดูแลหลังคลอด 2.2 กลุ่มเด็ก - การตรวจพัฒนาการเด็ก 3. บริการทันตกรรม 3.1 มีบริการทันตกรรมพื้นฐาน (อุดฟัน/ ถอนฟัน/ ขูดหินปูน) 4. บริการแพทย์แผนไทย และกายภาพบำบัด 4.1 บริการนวด อบ ประคบสมุนไพร 4.2 บริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางกาย 5. บริการเชิงรุก (เยี่ยมบ้านผู้ป่วยโดย ทีมสหวิชาชีพ) 5.1 บริการเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายที่เป็น “กลุ่มผู้ป่วยติดเตียง”

20 2. แผนพัฒนาบริการปฐมภูมิ: ขีดความสามารถ ในการให้บริการ
2.2 ศูนย์บริการสุขภาพเขตเมือง = ให้อำเภอเป้าหมาย (เมือง/ชะอำ) กำหนดขีดความสามารถในการให้บริการเอง

21 3. แผนกำลังคนที่เชื่อมโยงกับแผนพัฒนาบริการ
รพ.สต. ประเภทแผน แนวทางดำเนินการ 1. แผนจัดหากำลังคน ปฏิบัติงานประจำ - วิเคราะห์จำนวนบุคลากรที่เป็นส่วนขาด โดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน รพ.สต. - วิเคราะห์วิชาชีพที่ต้องการจากความครบ ถ้วนของ 4 สายงาน - ปีที่ต้องการต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนา บริการในข้อ 2 2. แผนหมุนเวียน กำลังคนไปช่วย ปฏิบัติงานที่ รพ.สต.เป็นครั้ง คราว (ครอบคลุม รพ.สต.ลูกข่าย) - ระบุวิชาชีพ ลักษณะงาน และความถี่ที่ไป ช่วย เช่น แพทย์ตรวจรักษาที่คลินิกโรค เรื้อรัง 1 วัน/สัปดาห์

22 3. แผนกำลังคน ประเภทแผน แนวทางดำเนินการ 3. แผนพัฒนา ศักยภาพบุคลากร
- วิเคราะห์ศักยภาพของบุคลากรในการ ให้บริการในแต่ละกิจกรรมบริการที่พัฒนา เพื่อหาส่วนขาด - กำหนดประเด็นความต้องการพัฒนาแยก เป็นรายวิชาชีพ / สายงาน

23 หลักสูตร / หัวข้อที่ต้องการพัฒนา
แผนพัฒนาศักยภาพบุคลากร สายงาน หลักสูตร / หัวข้อที่ต้องการพัฒนา 1. ผอ.รพ.สต. การบริหารความเสี่ยง การตรวจสอบภายใน ระเบียบว่าด้วยการจัดซื้อ จัดจ้าง 2. พยาบาล พยาบาลเวชปฏิบัติฯ หรือการอบรมฟื้นฟู NP การตรวจรักษาโรคฉุกเฉินที่จำเป็น และความรู้ในการ ดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน การทบทวนการใช้ CPG โรคเรื้อรัง

24 หลักสูตร / หัวข้อที่ต้องการพัฒนา
แผนพัฒนาศักยภาพบุคลากร สายงาน หลักสูตร / หัวข้อที่ต้องการพัฒนา 3. นวก./ จพ. การตรวจและวินิจฉัยโรคเบื้องต้น การตรวจรักษาพยาบาลทั่วไป การฝากครรภ์และภาวะเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์ การดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง การใช้ยาและผลข้างเคียงการใช้ยา การเยี่ยมบ้านแบบองค์รวม 4. ทุก ตำแหน่งงาน ความรู้ด้าน IT และการใช้งานโปรแกรมต่างๆ การใช้คู่มือ/ มาตรฐานการให้บริการ การควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ

25 กิจกรรมบริการ (ที่เพิ่มขึ้น)
4. แผนลงทุน (วัสดุ ครุภัณฑ์ และสิ่งก่อสร้าง) ที่สอดคล้องกับกิจกรรมบริการที่พัฒนา รพ.สต. กิจกรรมบริการ (ที่เพิ่มขึ้น) รายการวัสดุ ครุภัณฑ์ 1.1 มีคลินิกให้บริการตรวจรักษาผู้ป่วย โรคเรื้อรัง 1.2 การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนกลุ่มโรค metabolic - ตรวจ VA - ตรวจเท้าด้วย monofilament - เจาะเลือดส่งตรวจ HbA1C , Lipid profile, BUN,CR 1.3 จัดตั้งคลินิก DPAC Advantage เครื่องตรวจหาน้ำตาล monofilament pinhole ชุดอุปกรณ์ตรวจ VA ชุดสาธิตอาหาร เครื่องชั่งน้ำหนักประมวล ไขมัน - ชุดเครื่องเสียง

26 กิจกรรมบริการ (ที่เพิ่มขึ้น)
4. แผนลงทุน (วัสดุ ครุภัณฑ์ และสิ่งก่อสร้าง) ที่สอดคล้องกับกิจกรรมบริการที่พัฒนา รพ.สต. กิจกรรมบริการ (ที่เพิ่มขึ้น) รายการวัสดุ ครุภัณฑ์ 2.1 กลุ่มแม่ - มีคลินิก ANC - การดูแลหลังคลอด (ตรวจภายใน หลังคลอด + เยี่ยมหลังคลอด) Fetal Drop tone เครื่องปั่น Hct. Stethoscope แบบ Bell เตียงตรวจครรภ์ Set ทำคลอดฉุกเฉิน ชุดตรวจภายใน เตียง PV โคมไฟส่งตรวจภายใน เก้าอี้นั่งตรวจ เครื่องชั่ง นน.เด็กแบบพกพา

27 กิจกรรมบริการ (ที่เพิ่มขึ้น)
4. แผนลงทุน (วัสดุ ครุภัณฑ์ และสิ่งก่อสร้าง) ที่สอดคล้องกับกิจกรรมบริการที่พัฒนา รพ.สต. กิจกรรมบริการ (ที่เพิ่มขึ้น) รายการวัสดุ ครุภัณฑ์ 2.2 กลุ่มเด็ก - การตรวจพัฒนาการเด็ก ชุดตรวจพัฒนาการเด็ก เครื่องชั่ง นน.เด็กแบบนอน (gigital) เครื่องชั่ง นน.เด็กแบบยืน (เด็กโต) มุม NDDC (ของเล่นในมุมพัฒนาการเด็ก) เครื่องวัดส่วนสูง

28 กิจกรรมบริการ (ที่เพิ่มขึ้น)
4. แผนลงทุน (วัสดุ ครุภัณฑ์ และสิ่งก่อสร้าง) ที่สอดคล้องกับกิจกรรมบริการที่พัฒนา รพ.สต. กิจกรรมบริการ (ที่เพิ่มขึ้น) รายการวัสดุ ครุภัณฑ์ 3.1 บริการทันตกรรมพื้นฐาน (อุดฟัน/ ถอนฟัน/ ขูดหินปูน เครื่องฉายแสงใช้กับวัสดุ ทันตกรรม เครื่องขูดหินปูน ยูนิตทำฟัน (สำหรับ รพ.สต.ที่มีทันตบุคลากร) , ยูนิตทำฟันชนิดเคลื่อนที่ (สำหรับ รพ.สต.ที่ไม่มีทันตบุคลากรประจำ) ชุดเครื่องมือทันตกรรมพื้นฐาน

29 กิจกรรมบริการ (ที่เพิ่มขึ้น)
4. แผนลงทุน (วัสดุ ครุภัณฑ์ และสิ่งก่อสร้าง) ที่สอดคล้องกับกิจกรรมบริการที่พัฒนา รพ.สต. กิจกรรมบริการ (ที่เพิ่มขึ้น) รายการวัสดุ ครุภัณฑ์ 4.1 บริการนวด อบ ประคบสมุนไพร 4.2 บริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางกาย ตู้อบ - เตียงนวดพร้อมที่นอน หม้อนึ่งลูกประคบไฟฟ้า ให้ถามนักกายภาพบำบัดที่ รพ. 5.1 บริการเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายที่เป็น“กลุ่มผู้ป่วยติดเตียง” ชุดสวนปัสสาวะ ชุดให้อาหารทางสายยาง รถมอเตอร์ไซค์

30 กิจกรรมบริการ (ที่เพิ่มขึ้น)
4. แผนลงทุน (วัสดุ ครุภัณฑ์ และสิ่งก่อสร้าง) ที่สอดคล้องกับกิจกรรมบริการที่พัฒนา รพ.สต. กิจกรรมบริการ (ที่เพิ่มขึ้น) รายการสิ่งก่อสร้าง ให้แต่ละ CUP สำรวจความพร้อมของอาคาร สถานที่ สำหรับใช้ในการให้บริการแต่ละกิจกรรมบริการของ รพ.สต. กรณีมีไม่เพียงพอ หรือไม่พร้อมใช้ ให้ระบุรายการสิ่งก่อสร้างที่ต้องการลงในแผน

31 5. แผนพัฒนาระบบสนับสนุนบริการสุขภาพ
รายการสิ่งสนับสนุน 1. ระบบส่งต่อ - Green chanel - คู่มือ มาตรฐานการส่งต่อของ CUP - ยานพาหนะพร้อมอุปกรณ์ - วิทยุสื่อสาร 2. ระบบการให้ คำปรึกษา - คอมพิวเตอร์พร้อมกล้อง Web cam หรือ Skype - โทรศัพท์มือถือส่วนกลาง

32 5. แผนพัฒนาระบบสนับสนุนบริการสุขภาพ
รายการสิ่งสนับสนุน 3. ระบบยาและเวชภัณฑ์ - กรอบรายการยาตามศักยภาพการจัดบริการ ของหน่วยบริการ - ตู้เก็บยาและเวชภัณฑ์ - ตู้เย็นเก็บรักษาเวชภัณฑ์ที่อุณหภูมิต่ำ - เครื่อง Prepack ยา - เครื่องพิมพ์ฉลากยา - เครื่องปรับอากาศในคลังยา 4. ระบบข้อมูล สารสนเทศ - แฟ้มครอบครัว 100% - แฟ้มชุมชน 100% - โปรแกรม JHCIS ที่สมบูรณ์ - ระบบคู่สาย/สัญญาณที่ใช้การได้ดี - เครื่องมือ/อุปกรณ์อิเลคโทรนิกส์ (ระบุรายการ)

33 5. แผนพัฒนาระบบสนับสนุนบริการสุขภาพ
รายการสิ่งสนับสนุน 5. ระบบการทำให้ ปราศจากเชื้อ และ การควบคุม ป้องกัน การแพร่กระจายเชื้อ - คู่มือ/ มาตรฐานการทำให้ปราศจากเชื้อ - คู่มือ/ มาตรฐานการควบคุมและป้องกันการ แพร่กระจายเชื้อ - เครื่อง/ อุปกรณ์ (ระบุรายการที่ต้องการ)

34 6. แผนงบประมาณ - แผนรายรับ - แผนรายจ่าย - แผนเพิ่มรายรับ - ลดรายจ่าย
(ให้แต่ละ CUP รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และจัดทำแผน)

35 จำนวน CUP เป้าหมาย (แห่ง)/ ปีที่พัฒนา
6. แผนพัฒนาคุณภาพบริการ - ใช้เกณฑ์คุณภาพ PCA - หน่วยงานเป้าหมาย: CUP ทุกแห่ง + รพ.สต.ทุกแห่ง - ระดับเป้าหมายความสำเร็จ: แบ่งเป็นระดับขั้น ระดับความสำเร็จ จำนวน CUP เป้าหมาย (แห่ง)/ ปีที่พัฒนา 2555 2556 2557 2558 2559 เข้าสู่กระบวนการ ผ่านขั้นที่ 1 100%(คงสภาพ) ผ่านขั้นที่ 2 25% 50% 75% 100% ผ่านขั้นที่ 3 ผ่านขั้นที่ 4 ผ่านขั้นที่ 5

36 จำนวน รพ.สต.เป้าหมาย (แห่ง)/ ปีที่พัฒนา
6. แผนพัฒนาคุณภาพบริการ - ใช้เกณฑ์คุณภาพ PCA - หน่วยงานเป้าหมาย: CUP ทุกแห่ง + รพ.สต.ทุกแห่ง - ระดับเป้าหมายความสำเร็จ: แบ่งเป็นระดับขั้น ระดับความสำเร็จ จำนวน รพ.สต.เป้าหมาย (แห่ง)/ ปีที่พัฒนา 2555 2556 2557 2558 2559 เข้าสู่กระบวนการ ผ่านขั้นที่ 1 ผ่านขั้นที่ 2 ผ่านขั้นที่ 3 ผ่านขั้นที่ 4 ผ่านขั้นที่ 5


ดาวน์โหลด ppt กรอบแนวคิด การทำ Service Plan ระดับปฐมภูมิ จังหวัดเพชรบุรี (ระยะเริ่มต้น)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google