งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบส่งต่อ การดูแลสุขภาพเขตเมือง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบส่งต่อ การดูแลสุขภาพเขตเมือง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบส่งต่อ การดูแลสุขภาพเขตเมือง
กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลยะลา

2 ข้อมูลทั่วไป รวม 162,697 23 101,722 17 60,975 6 อำเภอ/เทศบาล
จำนวนประชากร รพ.สต./ศสม. 101,722 17 เขต อ.เมืองยะลา 60,975 เขตเทศบาลฯ 6 รวม 162,697 23

3 อัตรากำลังทีมสุขภาพของศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง ศสม.
ปชก.รับผิดชอบ พยาบาลวิชาชีพ จพง. ทันตสาธารณสุข รวม อัตรากำลังต่อปชก. บ้านสะเตง 12,369 8 1 10 1:1,236 จารูพัฒนา 13,555 9 2 12 1:1,355 ผังเมือง ๔ 7,635 6 1:954 ธนวิถี 6,492

4 กลุ่มงานเวชกรรมสังคม
อัตรากำลังทีมสุขภาพของศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (ต่อ) ศสม. ปชก.รับผิดชอบ พยาบาลวิชาชีพ จพง. ทันตสาธารณสุข รวม อัตรากำลังต่อปชก. เวชกรรม 1 10,838 7 2 1 10 1:1,083 เทศบาล 10,086 9 - 1:1,008 60,975 47 6 60 1:1,016 กลุ่มงานเวชกรรมสังคม 18 20 65 8 80

5 แผนผังที่ตั้งศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองทั้ง 6 แห่ง
ไปหาดใหญ่ ไปสงขลา ศสม.บ้านสะเตง ศสม. เวชกรรม ถนนเทศบาล1 ถนนสิโรรส N ถนนสุขยางค์ ศสม. เทศบาลฯ ไปปัตตานี หอนาฬิกา ศาลหลักเมือง ศสม.จารูพัฒนา ถนนสุขยางค์ ถนนพิพิธภักดี ถนนสุขยางค์1 ศสม.ผังเมือง4 ศสม.ธนวิถี 5

6 การพัฒนาระบบบริการตรวจรักษาโรคของศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง
ระบบ M-Record ระบบ Fast – Tract มีแพทย์ออกตรวจทุกวัน จ – ศ. เวลา น. ศสม.ธนวิถี ศสม.จารูพัฒนา ศสม.เทศบาล

7 การพัฒนาระบบบริการตรวจรักษาโรค
การบันทึกข้อตกลงร่วมกับเทศบาลนครยะลา มีแพทย์ออกตรวจทุกวันจันทร์ – ศุกร์ เวลา – น. บัตรประจำตัวผู้ป่วยใช้ HN เดียวกับโรงพยาบาลยะลา ระบบยาและเวชภัณฑ์ใช้มาตรฐานเดียวกันกับโรงพยาบาล มีเภสัชกร ควบคุมกำกับดูแลระบบจ่ายยา สิทธิค่ารักษาพยาบาล ใช้สิทธิได้ทุกสิทธิ ข้าราชการต้อง scan นิ้ว ที่โรงพยาบาลยะลาก่อน จัดระบบ Fast Tract กรณีต้องตรวจพิเศษ เช่น x – ray, อัลตร้าซาวน์ มีระบบส่งต่อโดยเข้าช่องทางด่วน,ระบบส่งตรวจจาก ศสม. สามารถ Admit ผู้ป่วยได้จากศสม.

8 แพทย์ออกตรวจ ณ รพ.สต./ศสม.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยจาก รพ.สต/ศสม. ที่ใช้โปรแกรม M - Record แพทย์ออกตรวจ ณ รพ.สต./ศสม. ส่งตรวจ ณ รพ.ยะลา ยื่นบัตรช่องส่งต่อ ณ ห้องบัตร -อธิบายผู้ป่วย/ญาติ -ผู้ป่วยถือ OPD Card ประทับตรา รพ.สต./ศสม.และ ขอ Print ใบสั่งยาที่ห้องบัตร -ผลการตรวจตามแพทย์นัด รพ.สต./ศสม.ลงทะเบียนส่งต่อ -ติดตามผลการส่งต่อวางแผนเยี่ยมบ้านภายใน 1 สัปดาห์ -ติดตามรับ OPD Card ที่ห้องบัตร (วันถัดไป)

9 -ติดตามข้อมูลเยี่ยมบ้าน
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วย รพ.สต./ศสม.ที่ใช้โปรแกรม JHCIS ประเมินอาการผู้ป่วย แพทย์ประจำแผนก Consult -ทางโทรศัพท์ -Web cam Case ที่ต้องการส่งต่อ -ชี้แจงผู้ป่วยญาติ -เขียน บส.08 -ลงทะเบียนส่งต่อ -พยาบาลเวชปฏิบัติ -พยาบาลกลุ่มงานเวชกรรมแต่ละงาน -บันทึกข้อมูลในโปรแกรม JHCIS/FF -ติดตามข้อมูลเยี่ยมบ้าน

10 แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเรื้อรังกลับไปรักษาต่อ ศสม./รพ.สต.
จำแนกผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ ติด sticker พิจารณาส่งต่อ ส่งพบแพทย์พิจารณาส่งต่อโดยผู้ป่วยสมัครใจ ให้คำแนะนำลงบันทึกข้อมูลในแบบฟอร์ม ติดสติ๊กเกอร์ส่งต่อหน้า OPD card ลงทะเบียนผู้ป่วย

11 ระบบการส่งต่อผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิต
A กลุ่มผู้ป่วยที่คุมน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ดี (ระดับ A) คือ ค่า HbA1c < 7 แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง กลับไปรับการรักษาที่ศสม./รพ.สต.ในเครือข่าย Criteriaในการส่ง 1.ผู้ป่วยสมัครใจไปรับการรักษาที่รพ.สต./ศสม. 2.ผู้ป่วยไม่ใช้อินซูลินในการรักษา 3.ผู้ป่วยไม่ได้ใช้ยาราคาสูง 4.ผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต หัวใจ และหลอดเลือด 5.กรณีผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยมีระดับน้ำตาลสะสม HbA1Cน้อยกว่า 7 กรณีผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ระดับBp<130/80mmHg 6.จนท.ใช้แบบฟอร์มในการส่งต่อ B กลุ่มผู้ป่วยที่คุมน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง (ระดับ B) C กลุ่มผู้ป่วยที่คุมน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ไม่ดี (ระดับ C)

12 กลุ่มผู้ป่วยที่คุมน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ดี
ขั้นตอนที่ ๔ ระบบสารสนเทศทางคลินิก (Clinical information system) A กลุ่มผู้ป่วยที่คุมน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ดี (ระดับ A) คือ ค่า HbA1c < 7 เขตเทศบาล = 847 คน เขต รพ.สต. = 601คน จำนวนที่ส่งกลับไป รพ.สต./ศสม คน

13 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบส่งต่อ การดูแลสุขภาพเขตเมือง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google