การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

โรงเรียนวัดเขาปิ่นทอง
ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผล การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา.
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
การวิจัย RESEARCH.
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
นวัตกรรมการทดสอบความรู้เดิม
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
กลุ่มวิจัยและพัฒนานโยบาย
มาตรฐานวิชาชีพครู.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
สุจิตรา บำรุงกาญจน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
นายไพฑูรย์ กำลังดี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกสามัญ หมวดภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
งานวิจัย เรื่อง : การศึกษาผลการฝึกงานของนักเรียน
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
นายทัศนชัย เหน็บบัว โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน การประเมินโครงการ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โดยใช้กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนทั่วทั้งองค์กร ของโรงเรียนบ้านหนองนกกะเรียน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ราชบุรีเขต 1

ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดห้วยไผ่ ผู้ประเมิน นายกิตติชัย วงษ์ปาน ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดห้วยไผ่

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อประเมินบริบทของโครงการการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน โดยใช้กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนทั่วทั้งองค์กร 2. เพื่อประเมินปัจจัยเบื้องต้นของโครงการการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. เพื่อประเมินกระบวนการของโครงการการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4. เพื่อประเมินผลผลิตของ โครงการการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ผู้ให้ข้อมูล ครู และ นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองนกกะเรียน วิทยากร และคณะ กรรมการนิเทศการทำวิจัยในชั้นเรียน

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินโครงการ แบบสอบถามครู และ แบบสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับการประเมินสภาพการ ปฏิรูปการเรียนรู้ ( 6 ด้าน ) 2. แบบประเมินความต้องการจำเป็น 3. แบบสอบถามวิทยากรการประเมินปัจจัยเบื้องต้นด้านบุคลากร แบบสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการการประเมินปัจจัยเบื้องต้นด้านงบประมาณและเอกสารประกอบการฝึกอบรมและเอกสารค้นคว้าสำหรับครู แบบสอบถามครูการประเมินกระบวนการด้านการดำเนินงานและการฝึกอบรมการทำวิจัยในชั้นเรียน 6. แบบสอบถามผู้นิเทศ การประเมินผลผลิตการนำผลการวิจัยในชั้นเรียนไปใช้ในการแก้ปัญหาในการเรียนการสอน

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S) ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย ( x ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S)

ผลการประเมิน 1. ด้านการประเมินบริบท พบว่า ผลสรุปจากข้อมูลบริบทสภาพของโรงเรียนในด้านความเชื่อ ความรู้ ความเข้าใจ ด้านกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนและผลการเรียนรู้ ด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ ด้านการวิจัยปฏิบัติการและการประกันคุณภาพ ด้านการบริหารโรงเรียน ด้านผลการปฏิบัติงาน และจากการศึกษาความต้องการจำเป็นของโครงการโดยวิธีการเปรียบเทียบน้ำหนักความสำคัญของโครงการ (P.W.P.) พบว่าโครงการที่มีความสำคัญเป็นลำดับแรกซึ่งโรงเรียนต้องดำเนินการก่อน คือโครงการการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโดยใช้กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนทั่วทั้งองค์กรของโรงเรียนบ้านหนองนกกะเรียน

ผลการประเมิน 2. ด้านการประเมินปัจจัยเบื้องต้น พบว่าปัจจัยที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ วิทยากรมี คุณวุฒิระดับปริญญาโท มีประสบการณ์การในการทำวิจัย ครูผู้สอนพร้อมเข้าร่วมโครงการอบรมการทำวิจัยในชั้นเรียน มีเอกสารประกอบการฝึกอบรมเกี่ยวกับงานวิจัยและเอกสารประกอบการค้นคว้าเพียงพอและมีงบประมาณในการดำเนินโครงการอย่างเพียงพอ

ผลการประเมิน ดำเนินงานโครงการการวิจัยในชั้นเรียน 3. ด้านการประเมินกระบวนการ ดำเนินงานโครงการการวิจัยในชั้นเรียน พบว่า ผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ กระบวนการดำเนินงานเป็นไปตามแผนอยู่ในระดับมาก กระบวนการฝึกอบรมการวิจัยในชั้นเรียนทำให้ครูมีความรู้ความเข้าใจอยู่ในระดับมาก ครูได้รับการนิเทศภายในผ่านเกณฑ์ครบทุกคนร้อยละ100 และครูได้นำเสนอผลงานวิจัยในชั้นเรียนร้อยละ100

ผลการประเมิน 4. ด้านการประเมินผลผลิต พบว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ ครูผู้สอนร้อยละ 100 สามารถนำผลการวิจัยในชั้นเรียนมาใช้แก้ปัญหา และวางแผนจัดการเรียนการสอนได้ และ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้น ป.1- ม.3 ปีการศึกษา 2549 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 12.17 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนสามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้นได้

ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารควรเป็นผู้นำในทุกๆ ด้าน สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำวิจัยในชั้นเรียน รวมทั้งสนับสนุน ให้กำลังใจ ช่วยเหลือ และสร้างความเชื่อมั่นให้กับครูในการดำเนินการทำวิจัยในชั้นเรียน โรงเรียนควรดำเนินการทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนในชั้นเรียนของครูทุกคนให้มีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับผู้เรียน 3. โรงเรียนควรนำโครงการ ที่ผู้ประเมินได้จัดลำดับความสำคัญไว้ มาจัดทำโครงการเพื่อพัฒนา โรงเรียนตามลำดับในปีการศึกษาต่อ ๆ ไป