“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง” 1 การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง “การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง” โดย รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (นายชลิต ดำรงศักดิ์)
ประเด็น แนวทางการพัฒนา การบริหาร การบูรณาการการทำงาน การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ การแก้ไขปัญหา
แนวทางการพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สร้าง องค์ความรู้ จิตสำนึกรักเกษตรกร ภูมิใจในองค์กร/ความเป็นข้าราชการ ให้ตนเอง Smart Officer บูรณาการ งานกระทรวง สู่การปฏิบัติ นโยบาย การทำงาน เป็นระบบ คนทำงาน มีศักยภาพ นำ เทคโนโลยี ความเข้มแข็ง Green Economy สู่เกษตรกร การตอบสนองปัญหา ความต้องการ ผู้รับบริการ ระบบรับฟังความคิดเห็นและประมวลแนวทาง การแก้ไขปัญหา (กระบวนการมีส่วนร่วม กับภาคส่วนต่างๆ) การทำงาน เชิงรุก ป้องกันปัญหา ในพื้นที่
เงิน งาน คน หลักคิด การบริหาร ด้านโครงสร้าง (Design) การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ด้านโครงสร้าง (Design) ด้านงบประมาณ (Support) เงิน งาน คน ด้านคน (Team Work) ด้านเนื้อหา (Concept) บูรณาการ : บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบร่วมกัน ของหน่วยงาน สังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ระดับจังหวัด
บูรณาการ ระดับจังหวัด การบริหาร หลักการ นโยบาย....ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภาครัฐในสังกัด กษ. ภาค รัฐนอก สังกัด กษ. เครือข่าย เกษตร ชุมชน บูรณาการ ระดับจังหวัด ประชาชน/ท้องถิ่น ทิศทางการพัฒนา....ของ ยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด
บูรณาการการทำงาน ตัวอย่าง รูปแบบของการทำงาน เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการบูรณาการการทำงาน 1. เป็นงานที่ต้องใช้ความชำนาญ หรือทักษะเฉพาะที่ใกล้เคียงกัน ของแต่ละหน่วยงาน 2. เป็นงานที่ต้องใช้การส่งต่อผลผลิต 3. เป็นงานที่ใช้ทักษะเฉพาะที่แตกต่าง 4. เป็นงานที่ใช้ภารกิจคาบเกี่ยวกัน ระหว่างหน่วยงาน ตัวอย่างที่ 1 เป็นงานที่ต้องใช้ความชำนาญ หรือทักษะเฉพาะ ที่ใกล้เคียงกันของแต่ละหน่วยงาน เช่น การบูรณาการงานวิจัยระหว่างกรม ตัวอย่างที่ 2 เป็นงานที่ต้องใช้การส่งต่อผลผลิต เช่น การบูรณาการงานแผนและติดตามผล ตัวอย่างที่ 3 เป็นงานที่ใช้ทักษะเฉพาะที่แตกต่างของแต่ละ หน่วยงาน เช่น การบูรณาการงานตรวจสอบสารตกค้าง ตัวอย่างที่ 4 เป็นงานที่ใช้ภารกิจคาบเกี่ยวกันระหว่างหน่วยงาน เช่น การบูรณาการงานการพัฒนากลุ่มเกษตรกร
5. เป็นงานที่ต้องใช้การแลกเปลี่ยน เรียนรู้วิธีการทำงานระหว่างหน่วยงาน การบูรณาการการทำงาน 5. เป็นงานที่ต้องใช้การแลกเปลี่ยน เรียนรู้วิธีการทำงานระหว่างหน่วยงาน 6. เป็นงานที่ต้องเชื่อมโยงการทำงาน ระหว่างหน่วยงาน 7. เป็นงานที่ต้องร่วมมือกัน หลายหน่วยงาน ตัวอย่างที่ 5 เป็นงานที่ต้องใช้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิธีการทำงานระหว่างหน่วยงาน เช่น การบูรณาการฐานข้อมูล ตัวอย่างที่ 6 เป็นงานที่ต้องเชื่อมโยงการทำงาน ระหว่างหน่วยงาน เช่น การบูรณาการโครงการ ตัวอย่างที่ 7 เป็นงานที่ต้องร่วมมือกันหลายหน่วยงาน เช่น การบูรณาการวางนโยบาย ทั้งนี้ รูปแบบในการปฏิบัติงานจริง จะขึ้นอยู่กับเป้าหมายการทำงานเป็นหลัก ซึ่งพื้นฐานของการบูรณาการจำเป็นต้องมองลักษณะการทำงานให้ชัดเจน เพื่อวางแผนเชื่อมโยงการทำงานให้เกิดการบูรณาการไปสู่เป้าหมายที่กำหนด
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การถ่ายทอดแผนประเทศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ การถ่ายทอดแผนประเทศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (2555 – 2559) แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2555 - 2558 ยุทธศาสตร์ประเทศ Country Strategy 2556 - 2561 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (2555 - 2559) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2555 - 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โครงการสำคัญ ปี 2557 (Flagship Project) ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ประเทศไทย ต่างประเทศ ภาคการเกษตร 1. โครงสร้างพื้นฐาน 2. เสริมสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร 3. ส่งเสริมการทำการเกษตรตามแนวทาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ 5. ความมั่นคงด้านอาหาร และพลังงาน 6. เศรษฐกิจสร้างสรรค์ 7. เศรษฐกิจเกษตร สีเขียว 8. ความร่วมมือและ ข้อตกลงระหว่าง ประเทศ 9. พัฒนาบุคลากร/โครงสร้าง กษ. พันธกิจ การขับเคลื่อน ส่งเสริมด้านการผลิต สินค้าเกษตรและ อาหาร ส่งเสริม การวิจัยพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี จัดสรรทรัพยากร การผลิตทางการเกษตร ประยุกต์ใช้เศรษฐกิจ พอเพียง วิสัยทัศน์ เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประชาชนมีความมั่นคงด้านอาหาร เป็นฐานรายได้ให้แผ่นดิน 8 โครงการสำคัญ (Flagship Project) ของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยุทธศาสตร์ พัฒนาทรัพยากรการเกษตร อย่างมีประสิทธิภาพ สมดุล และยั่งยืน พัฒนาขีดความสามารถ ในการผลิต การจัดการสินค้าเกษตร และ ความมั่นคงอาหาร พัฒนาคุณภาพชีวิต เกษตรกร ที่มา: แผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)
โลกในวันข้างหน้า เป็นโลกแห่งการ แก้ไขปัญหา การแก้ไขปัญหา “ภารกิจต่างๆ ที่จะตอบสนองความต้องการของประชาชนในอนาคต ส่วนใหญ่จะเป็นการแก้ปัญหา ดังนั้น ต้องจำแนกปัจจัย และมองวิธีการแก้ไขให้ออก” โลกในวันข้างหน้า เป็นโลกแห่งการ แก้ไขปัญหา วิธีการแก้ปัญหา โลกในวันข้างหน้า เป็นโลกแห่งการแก้ไขปัญหา วิธีการแก้ไขปัญหา นั้นมีหลากหลาย แต่แบ่งได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ๆ ซึ่งก็คือ หลักอริยสัจ 4 ซึ่งผู้นำองค์กร ต้องคิดเป็นและคิดให้เร็ว “มีคนบอกว่า ความตั้งใจที่จะทำทุกอย่างให้ดีที่สุด อยู่ในจิตวิญญาณของคนญี่ปุ่น ดูจากการห่อขนมของคนญี่ปุ่น ไม่ใช่เพราะเป็นสินค้า OTOP หรือเพิ่มมูลค่าเท่านั้น แต่ในทุกเมือง ทุกร้านค้า ในชุมชนก็ทำแบบนี้ เป็นนิสัย ที่แสดงให้เห็นถึงความเอาใจใส่ และรับผิดชอบ บางทีการแก้ปัญหาคนในองค์กร อาจไม่ใช่การแก้ไขเรื่อยไป แต่ควรเป็นการป้องกัน ให้ใจคนไม่ตกต่ำ ไม่ย่อท้อ และถดถอยมากกว่า ซึ่งมิใช่ทำเฉพาะคนในองค์กรภายใต้การนำของท่าน แต่เป็นตัวท่านที่ต้องนำองค์กร และเป็นแบบอย่างของบุคลากรทั้งองค์กรด้วย” จำแนก ประเด็น ปัญหา วิเคราะห์ สาเหตุ กำหนด วิธีแก้ไข ลงมือ ปฏิบัติ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
ข้อมูล/ข่าว ในพื้นที่ กรณีปัญหาความ ขัดแย้งที่มีแนวโน้ม ที่จะยกระดับ การแก้ไขปัญหา รวบรวมข้อมูล ผลกระทบ ด้านการเกษตร - ปัจจัยเสี่ยง - ความขัดแย้ง - ประเด็นปัญหา - การรวมกลุ่ม เพื่อเรียกร้อง - ประเด็นการเมือง ในพื้นที่ ข้อมูล/ข่าว ในพื้นที่ กรณีปัญหาความ ขัดแย้งที่มีแนวโน้ม ที่จะยกระดับ สู่การรวมกลุ่ม สร้างกระบวนการมีส่วนร่วม ระหว่าง - หน่วยงานรัฐ - เกษตรกร - เอกชน - สถาบันการศึกษา - ภาคส่วนต่างๆ เพื่อระดมความเห็นข้อเสนอ ความต้องการแนวทางการแก้ไขปัญหา ในพื้นที่ (รองปลัดฯ / ผู้ตรวจฯ เป็นประธาน) สร้างเวทีรับฟังความเห็น เพื่อป้องกัน การขยายตัวของปัญหา ปัญหาเร่งด่วน ประมวลข้อมูล นำเสนอผู้ว่าฯ และบูรณาการ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหา ปัญหาเชิงนโยบาย รวบรวมข้อมูลเสนอ ผู้บริหารกระทรวง เพื่อกำหนดวิธีการแก้ไข แก้ไขปัญหาในพื้นที่ และเตรียมการป้องกัน