งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
กลุ่มนโยบายและแผน

2 ความเชื่อมโยงนโยบายและยุทธศาสตร์สู่การปฏิรูปอาชีวศึกษา
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนบริหารราชการแผ่นดิน การปฏิรูป อาชีวศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการ แผนพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แผนพัฒนาอุตสาหกรรม นโยบายรัฐบาล นโยบายเร่งด่วน  นโยบายเร่งด่วนขยายบทบาทศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อ ชุมชน นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต 1. ยกระดับคุณภาพการศึกษาของคนไทย 2. พัฒนาหลักสูตร ปรับระบบการผลิตและพัฒนาครู 3. ส่งเสริมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. ดำเนินการให้บุคคลมีสิทธิเสมอภาคกันในการรับ การศึกษา 12 ปี โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 5. สนับสนุนการผลิตและพัฒนากำลังคน 6. ขยายบทบาทของระบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ ผ่านองค์กร พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 หลักการ 1. ความเป็นเลิศในการจัดการศึกษาวิชาชีพ 2. การตอบสนองความต้องการกำลังคนในการพัฒนา ประเทศ 3. ประสิทธิภาพและเอกภาพการบริหารจัดการ 4. ระดมทรัพยากรและความร่วมมือจากทุกภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และชุมชน ซึ่งจะนำไปสู่ความ สามารถในการพึ่งพาตนเอง 5. ประกันคุณภาพและกำกับมาตรฐาน

3 หลักการ/แนวทาง เป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติ
การพัฒนาประเทศตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ( ) เป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติ  การพัฒนาคุณภาพคน  การพัฒนาชุมชนและแก้ปัญหาความยากจน  การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ  การสร้างความมั่นคงของทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม  การส่งเสริมธรรมาภิบาล

4 แผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนบริหารราชการแผ่นดิน
ปี แผนบริหารราชการแผ่นดิน ปี 1. ขจัดความยากจน 1. ฟื้นฟูความเชื่อมั่นของประเทศ 2. พัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ 2. พัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต 3. ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและ แข่งขันได้ 3. ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้ขยายตัว อย่างสมดุล 4. บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 4. บริหารจัดการที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 5. ต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ 5. พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม 6. พัฒนากฎหมายและส่งเสริมกิจการ บ้านเมืองที่ดี 6. การต่างประเทศ และเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ 7. การรักษาความมั่นคงของรัฐ 7. ส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการ ประชาสังคม 8. การบริหารจัดการที่ดี 8. รักษาความมั่นคงของรัฐ 9. รองรับการเปลี่ยนแปลงพลวัตโลก 9. การดำเนินการภาครัฐ

5 ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ด้านการศึกษา ปี 2549-2551
ย. การขจัดความยากจน ย. การพัฒนาคนและสังคมที่มี คุณภาพ ย. การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ให้สมดุลและแข่งขันได้ ย. การบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ย. การต่างประเทศและเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ ย. การพัฒนากฎหมายและส่งเสริม การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ย. การส่งเสริมประชาธิปไตยและ กระบวนการประชาสังคม ย. การรักษาความมั่นคงของรัฐ ย. รองรับการเปลี่ยนแปลงและ พลวัตรโลก ย. รายการค่าดำเนินการภาครัฐ ปี 2550 ย. ขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท ย. การพัฒนาคนและสังคม ที่มีคุณภาพ ย. การปรับโครงสร้าง เศรษฐกิจให้ขยายตัวอย่าง สมดุล ย. การบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ย. การปรับประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน ย. การรักษาความมั่นคง และส่งเสริมธรรมาภิบาล ย. การปรับปรุงการบริหารงานภาครัฐ ปี 2551 ย. การส่งเสริมให้ประชาชน มีสุขภาพดี มีคุณธรรมนำความรู้ และสามารถปรับตัวสู่สังคม ฐานความรู้ ย. การแก้ไขความยากจน กระจาย ความเจริญสู่ชนบท และ ลดช่องว่างของรายได้ ย. เพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันเพื่อให้เศรษฐกิจขยายตัว ได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ย. การดูแลทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการใช้ประโยชน์ จากความหลากหลายทางชีวภาพให้เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม ย. การพัฒนาการเมือง และการบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพและเป็นธรรม ย. การรักษาความมั่นคงและ ความสงบสุขของสังคม ย. รายการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ

6 ระบบงบประมาณราชการไทย
ระบบงบประมาณแบบแผนงาน (TOP-DOWN) ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (PBB) 2547-ปัจจุบัน ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ตามยุทธศาสตร์ (SPBB)

7 นโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาล กำหนดไว้ ๒ ระยะ ดังนี้
นโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาล กำหนดไว้ ๒ ระยะ ดังนี้ นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก : โครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต 1. ยกระดับคุณภาพการศึกษาของคนไทย 2. พัฒนาหลักสูตร ปรับระบบการผลิตและพัฒนาครู 3. ส่งเสริมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ ดำเนินการให้บุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา 12 ปี โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 5. สนับสนุนการผลิตและพัฒนากำลังคน ขยายบทบาทของระบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ ผ่านองค์กรต่างๆ

8 นโยบาย รมว.ศธ. 1. ส่งเสริมความเป็นเลิศในการจัดการศึกษาวิชาชีพภายใต้ความร่วมมือ กับสถานประกอบการและองค์กรวิชาชีพ 2. มุ่งผลิตการตอบสนองความต้องการกำลังคนในการพัฒนาประเทศ 3. เพิ่มประสิทธิภาพและเอกภาพการบริหารจัดการ 4. ระดมทรัพยากรและความร่วมมือจากทุกภาคส่วนต่างๆทั้งภาครัฐ เอกชน และชุมชน ซึ่งจะนำไปสู่ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง และนำร่องการจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษา 5. เร่งรัดคุณภาพการจัดอาชีวศึกษา การประกันคุณภาพและกำกับ มาตรฐานการจัดอาชีวศึกษา 6. ส่งเสริมการนำสื่อนวัตกรรม และ ICT มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน 7. ส่งเสริมการมีรายได้ระหว่างเรียนของนักศึกษาอาชีวะ

9 การเพิ่มปริมาณผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาในโรงเรียน มัธยม
การเทียบโอนประสบการณ์ คุณวุฒิวิชาชีพและ มาตรฐานอาชีพที่นำสู่การปฏิบัติ หลักสูตร 3 แนวทาง (ใช้ ซ่อม สร้าง) ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ปฏิรูปวิธีสอบ ความร่วมมือกับสภาอุตสาหกรรม และ สถานประกอบการ การสร้างผู้ประกอบการใหม่ การพัฒนาอาชีพแบบบูรณาการ คุณธรรมนำวิชาชีพ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การเงิน และ บุคลากร การศึกษาดูงานนักศึกษา (ปวช.1 และ ปวส.1) การจัดการความรู้ นโยบาย สอศ. มอบให้สถานศึกษา ปีงบประมาณ 2551

10 (ร่าง) แผนพัฒนาการอาชีวศึกษาระยะที่ 10 (พ.ศ.2550-2554)
วิสัยทัศน์ สอศ. เป็นองค์กรหลักในการสร้างและพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ด้านอาชีวศึกษา ให้ประชาชน อย่างทั่วถึง ตลอดชีวิต มีคุณภาพได้มาตรฐาน และจัดการองค์ความรู้ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของโลกภายใต้หลักคุณธรรมนำความรู้ที่สอดคล้อง กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

11 พันธกิจ 1. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์ด้านการอาชีวศึกษาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกภายใต้หลักคุณธรรมนำความรู้ 2. สร้างและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ด้านอาชีวศึกษาให้มีปริมาณเพียงพอต่อการพัฒนาประเทศในทุกระดับทักษะฝีมือ 3. ให้บริการด้าน วิชาชีพ เป็นแหล่ง ถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อการอาชีพ ให้กับชุมชน สังคม บนพื้นฐานปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง

12 ยุทธศาสตร์ 1. สร้างให้ผู้เรียนมีค่านิยม คุณธรรม วัฒนธรรมที่ดีงาม บนพื้นฐานความเป็นไทย 4. สร้างและพัฒนาครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาวิชาชีพให้มีความเท่าทัน ต่อการเปลี่ยนแปลง 7. ผลิตและพัฒนา กำลังคนตั้งแต่ระดับกึ่งฝีมือ ช่างฝีมือ ช่างเทคนิค และ นักเทคโนโลยีให้มีปริมาณเพียงพอต่อการพัฒนาประเทศ 2. สร้างและพัฒนาการจัด การเรียนการสอนวิชาชีพให้ ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ที่หลากหลายตามกลุ่มอุตสาหกรรมและมีความเป็นสากล 5. สร้างแรงจูงใจในการเข้าศึกษาต่อสายอาชีพ 8. พัฒนางานวิจัย นวัตกรรม เทคโนโลยีและ สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ 3. เร่งรัด พัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานสถานศึกษาและองค์กรอาชีวศึกษา 6. ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาสายวิชาชีพให้ทั่วถึง เสมอภาคโดยเฉพาะกลุ่มคนยากจนด้อยโอกาสและคนพิการ ผู้สูงอายุ ชนชาติพันธ์ 9. สร้างเสริมเติมปัญญา และพัฒนาอาชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

13 แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ.2551-2554) ของ สอศ.

14

15 แผนบริหารจัดการ ประจำปี พ.ศ.2551 วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกมหานคร


ดาวน์โหลด ppt สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google