บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการพัฒนาระบบการเงินและบัญชีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Advertisements

การขายผ่อนชำระและการเช่าซื้อ
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
Statement of Cash Flows
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การวางแผนกลยุทธ์.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
รายงานที่ให้ทำ (ทุกคน)
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
บทที่ 4 งบการเงิน.
ระบบบัญชีเดี่ยว.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
ระบบบัญชี.
วงจรรายจ่าย วงจรที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่อไปนี้
การจัดงบประมาณของโครงการ
การเงิน.
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มีนาคม 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มกราคม 2551.
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
บทที่ 5 การวางแผนการผลิต.
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
บทที่ 7 เงินสดและหลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาด (Cash and Marketable Securities Management) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
เปรียบเทียบดัชนีชี้วัด ปีงบประมาณ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
บทที่ 4 การวางแผนการตลาดและแผนการขาย
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
การจัดทำแผนธุรกิจ.
การออกแบบโครงสร้างการทำบัญชีโดยการประยุกต์ใช้โปรแกรม EXCEL
บทที่ 13 การบริการลูกค้าในการค้าปลีก
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
ความหมายของการบริการ
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
การวัดการวิจัยในการตลาด
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
Creative Accounting
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการวางแผนทางการเงิน ปัจจัยภายนอกธุรกิจ ได้แก่ ภาวะเศรษฐกิจ สังคม การเมือง คู่แข่งขัน อัตราดอกเบี้ย ปัจจัยภายในธุรกิจ เช่น ความต้องการสินค้าและบริการของตลาด ต้นทุน แหล่งเงินทุน อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

ประโยชน์จากการวางแผนและควบคุม การคาดการณ์เหตุการณ์ในอนาคต เกิดการประสานงานที่ดีต่อกันภายในธุรกิจ การควบคุมการทำงานให้บรรลุเป้าหมายทำได้ง่ายขึ้น อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

ระยะเวลาในการวางแผนทางการเงิน การวางแผนทางการเงินระยะสั้น คือการวางแผนการดำเนินงานภายในช่วงเวลาไม่เกิน 1 ปี เช่น รายเดือน รายไตรมาส การวางแผนทางการเงินระยะยาวคือการวางแผนการดำเนินงานภายในช่วงเวลาเกิน 1 ปีขึ้นไป เช่น แผนงานช่วง 3 ปี หรือ 5 ปี อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

งบประมาณเงินสด (Cash Budget) คืองบที่จัดทำขึ้นจากการพยากรณ์การรับเงินและจ่ายเงินในอนาคตในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง อาจเป็นช่วง 3เดือน ช่วง 6 เดือน หรือ 1ปี โดยการพยากรณ์เงินสดที่คาดว่าจะได้รับและต้องจ่ายในแต่ละงวดเวลา อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณเงินสด การจัดทำงบประมาณเงินสดรับ (Cash Receipt Budget) การจัดทำงบประมาณเงินสดจ่า (Cash Disbursement Budget) การจัดทำงบประมาณเงินสดสุทธิ (Net Cash flow) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

การจัดทำงบประมาณเงินสดรับ เงินสดรับของกิจการ ซึ่งได้มาจาก 2 ทาง เงินสดรับของกิจการ ซึ่งได้มาจาก 2 ทาง เงินสดรับจากการขายสินค้า ซึ่งจะได้รับจากการขายเป็นเงินสดในแต่ละงวด และเงินสดรับจากการชำระหนี้ของลูกหนี้ เงินสดรับจากแหล่งอื่นๆ เช่น รายได้จากการขายสินทรัพย์ถาวร เป็นต้น อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

การจัดทำงบประมาณเงินสดจ่าย เงินสดจ่ายของกิจการ แยกเป็น 2 ทาง เงินสดจ่ายของกิจการ แยกเป็น 2 ทาง เงินสดจ่ายจากการซื้อสินค้าหรือวัตถุดิบ ซึ่งจะจ่ายเพื่อซื้อสินค้าหรือวัตถุดิบเป็นเงินสดในแต่ละงวด และเงินสดจ่ายเพื่อการชำระหนี้ให้เจ้าหนี้การค้า เงินสดจ่ายอื่นๆ เช่น ค่าใช้จ่ายในการผลิต ค่าแรงงาน ค่าเช่า เป็นต้น อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

การจัดทำงบประมาณเงินสดสุทธิ เป็นการนำเอางบประมาณเงินสดรับและเงินสดจ่ายมาเปรียบเทียบกัน เพื่อหายอดเงินสุทธิ ว่ามีเงินสดเกินหรือขาดเป็นจำนวนเท่าใด ซึ่งบางกิจการอาจจะมีการกำหนดจำนวนเงินสดขั้นต่ำที่ต้องมีไว้ อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต