งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวางแผนกำไร (Profit Planning)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวางแผนกำไร (Profit Planning)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวางแผนกำไร (Profit Planning)
บทที่ 5 การวางแผนกำไร (Profit Planning) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

2 การวิเคราะห์เพื่อการวางแผนกำไร
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-Even Analysis) การวิเคราะห์ผลการใช้สินทรัพย์หรือเงินทุน (Leverage Analysis) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

3 การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-Even Analysis)
จุดคุ้มทุน คือจุดที่รายได้รวม (Total Revenues) เท่ากับ ต้นทุนรวม (Total Cost) นั่นคือกิจการสามารถหารายได้หลังจากหักค่าใช้จ่ายผันแปรแล้วเท่ากับต้นทุนคงที่ อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

4 ต้นทุนที่เกิดจากการดำเนินธุรกิจ ได้แก่ ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost)
ต้นทุนที่เกิดจากการดำเนินธุรกิจ ได้แก่ ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) ต้นทุนผันแปร(Variable Cost) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

5 ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) คือ ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกิดจากการผลิตสินค้าและบริการ ซึ่งมีจำนวนคงที่เสมอ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงตามจำนวนหน่วยที่ผลิตและขาย ดังรูป บาท ต้นทุนคงที่ หน่วย อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

6 ต้นทุนผันแปร (Variable Cost) คือต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกิดจากการผลิตสินค้าและบริการ ซึ่งมีจำนวนเปลี่ยนแปลงตามจำนวนการผลิตและขาย ดังรูป บาท ต้นทุนผันแปร หน่วย อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

7 ข้อสมมติฐาน ในการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
ข้อสมมติฐาน ในการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน ราคาขายต่อหน่วยคงที่ ไม่ว่าจะขายได้มากหรือน้อยราคาไม่เปลี่ยนแปลง ต้นทุนคงที่ จะไม่เปลี่ยนแปลงตลอดไป ต้นทุนผันแปรต่อหน่วยคงที่ ไม่ว่าจะผลิตและขายสินค้าได้มากหรือน้อย จำนวนหน่วยที่ผลิตเท่ากับจำนวนที่ขายในแต่ละงวดเวลา อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

8 การคำนวณจุดคุ้มทุน กำหนดให้ Q = ปริมาณขาย (หน่วย) P = ราคาต่อหน่วย
การคำนวณจุดคุ้มทุน กำหนดให้ Q = ปริมาณขาย (หน่วย) P = ราคาต่อหน่วย FC = ต้นทุนคงที่ TR = รายได้รวม V = ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย TC = ต้นทุนรวม VC = ต้นทุนผันแปรรวม Q* = ปริมาณขาย ณ จุดคุ้มทุน TR* = รายได้รวม ณ จุดคุ้มทุน อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

9 ณ จุดคุ้มทุน TR = TC Q x P = FC + VC Q x P = FC + ( Q x V )
QP = FC + QV QP - QV = FC Q ( P – V ) = FC Q* = FC ( P – V ) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

10 การคำนวณรายได้ ณ จุดคุ้มทุนโดยใช้กำไรส่วนเกิน (Contribution Margin)
รายได้ ณ จุดคุ้มทุน = ปริมาณ ณ จุดคุ้มทุน x ราคาขาย TR* = Q* x P การคำนวณรายได้ ณ จุดคุ้มทุนโดยใช้กำไรส่วนเกิน (Contribution Margin) กำไรส่วนเกินหมายถึง ผลต่างระหว่างราคาขายกับต้นทุนผันแปรต่อหน่วย อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

11 กำไรส่วนเกิน = ราคาขาย - ต้นทุนผันแปร CM = P - V หรือ TR - VC
กำไรส่วนเกิน = ราคาขาย - ต้นทุนผันแปร CM = P - V หรือ TR - VC อัตราส่วนกำไรส่วนเกิน (Contribution Margin Ratio - CM ratio) CM ratio = P - V หรือ TR - VC P TR อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

12 ดังนั้น รายได้ ณ จุดคุ้มทุน= ต้นทุนคงที่ อัตราส่วนกำไรส่วนเกิน
ดังนั้น รายได้ ณ จุดคุ้มทุน= ต้นทุนคงที่ อัตราส่วนกำไรส่วนเกิน TR* = FC CM ratio ถ้าต้องการทราบปริมาณ ณ จุดคุ้มทุน สามารถคำนวณได้ดังนี้ Q* = TR* P อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

13 การวิเคราะห์ผลการใช้สินทรัพย์หรือเงินทุน (Leverage Analysis)
1. ระดับการใช้สินทรัพย์ดำเนินงาน (Degree of Operating Leverage - DOL) ซึ่งจะบอกให้ทราบว่า เมื่อค่าขายเปลี่ยนแปลงไปหนึ่งเปอร์เซ็นต์ กำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี (Earning Before Interest and Tax - EBIT) จะเปลี่ยนไปกี่เปอร์เซ็นต์ DOL = Q(P - V) Q(P – V) - FC อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

14 DFL = Q(P - V) – FC Q(P – V) – FC – I
2. ระดับการใช้เงินทุน (Degree of Financial Leverage - DFL) จะบอกให้ทราบว่าการดำเนินงานของธุรกิจ ณ ระดับกำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษีนั้นๆ จะมีกำไรเหลือเป็นส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญหรือไม่ มีความเสี่ยงต่อการขาดทุนหรือมีโอกาสหลุดพ้นการการขาดทุนมากน้อยเพียงใด DFL = Q(P - V) – FC Q(P – V) – FC – I โดยที่ I = ดอกเบี้ย อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

15 3. ระดับการใช้สินทรัพย์ดำเนินงานและการใช้เงินทุน (Degree of Total Leverage - DTL) เป็นการวัดความเสี่ยงรวมของธุรกิจทั้งความเสี่ยงจากการดำเนินงานและความเสี่ยงทางการเงิน ว่าผลของการใช้สินทรัพย์และเงินทุนอยู่ในระดับที่น่าพอใจหรือไม่ สามารถคำนวณได้ดังนี้ DTL = DOL x DFL อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต


ดาวน์โหลด ppt การวางแผนกำไร (Profit Planning)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google