ระบบฐานข้อมูลจัดการคลังเส้นด้าย กรณีศึกษา บริษัทไทยคูราโบ จำกัด ระบบฐานข้อมูลจัดการคลังเส้นด้าย กรณีศึกษา บริษัทไทยคูราโบ จำกัด Database Inventory of Yarn Case Study of Thai Kurabo Co., ltd
รายชื่อผู้วิจัย นายวิสิฐ เริ่มวานิชย์ นายศรายุทธ เรืองมาก อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ศศิณัชชกร ศรีทอง
OUTLINES ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย ขอบเขตของโครงการวิจัย เครื่องมือ / ภาษาที่ใช้ ขั้นตอนการดำเนินงานวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื่องจากว่าข้อมูลเส้นด้ายชนิดต่างๆในแต่ละวันมีปริมาณจำนวนการผลิตมากขึ้น การจัดเก็บข้อมูลที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆก็อาจทำให้เกิดปัญหาขึ้นได้ ดังนั้นจึงมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลจัดการคลังเส้นด้ายขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว วัตถุดิบ รายการสั่งซื้อ ระบบ ค้นหา
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลจัดการคลังเส้นด้าย กรณีศึกษา บริษัท ไทยคูราโบ จำกัด เพื่อให้สะดวกต่อการค้นหาหรือเรียกดูข้อมูลและสะดวกในการออกแบบรายงาน ระบบฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูล ค้นหาข้อมูล
ขอบเขตของโครงการวิจัย ข้อมูลลูกค้าที่มาซื้อเส้นด้าย ข้อมูลของพนักงาน เก็บข้อมูลกาเพิ่ม-ลด รายการเส้นด้าย พนักงาน ระบบฐานข้อมูล ค้นหาข้อมูลเส้นด้าย ออกใบรายงาน ระบบ Log File
เครื่องมือ / ภาษาที่ใช้ ด้านฮาร์ดแวร์ ด้านซอฟแวร์ 1. CPU Intel Core 2 Duo T7500 2.2GHz 2. Memory 2 GB DDR2 3. Hard Disk 250 GB 4. LCD 14.1” 1. OS Window 7 Ultimate 2. Netbeans IDE 6.9 3. iReport 4. JDBC 5. Microsoft Access 2007 6. Microsoft Visio 2007 7. Adobe Photoshop CS3
ขั้นตอนการดำเนินงานวิจัย กำหนดปัญหา วิเคราะห์ปัญหา วิเคราะห์และออกแบบ พัฒนาระบบ ทดสอบการใช้งาน ติดตั้งและบำรุงรักษา จัดทำคู่มือการใช้งาน
ขั้นตอนการดำเนินงานวิจัย (ต่อ) กำหนดปัญหา วิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหา เรียนรู้ระบบการทำงาน วิเคราะห์ปัญหา รวบรวมความต้องการของผู้ใช้งานมาแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
ขั้นตอนการดำเนินงานวิจัย (ต่อ) วิเคราะห์และออกแบบระบบ วิเคราะห์ความต้องการที่ได้จากผู้ใช้งาน เพื่อนำมาสร้างเป็นฟังก์ชั่นการทำงานของระบบ ออกแบบไดอะแกรมต่างๆ ส่วนติดต่อกับผู้ใช้งาน พัฒนาระบบ เขียนโปรแกรมแต่ละโมดูลโดยใช้ภาษาจาวา ติดต่อฐานข้อมูลด้วย JDBC นำแต่ละโมดูลมาเชื่อมต่อกัน
ขั้นตอนการดำเนินงานวิจัย (ต่อ) ทดสอบการใช้งาน ทดสอบการใช้งานในแต่ละโมดูลย่อยๆ ทดสอบการใช้งานร่วมกันในทุกๆโมดูล ให้ผู้ใช้ทดสอบการทำงานว่าตรงตามความต้องการหรือไม่ ทดสอบ ทดสอบ เจ้าหน้าที่ ผู้บริหาร ระบบ
ขั้นตอนการดำเนินงานวิจัย (ต่อ) ติดตั้งและบำรุงรักษา นำระบบมาติดตั้งที่บริษัท แก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น จัดทำคู่มือการใช้งาน จัดทำเอกสารประกอบการใช้งาน สรุปผลการดำเนินงาน
ระยะเวลาในการดำเนินงานวิจัย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ระบบฐานข้อมูลจัดการคลังเส้นด้าย เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ตรวจสอบจำนวนเส้นด้ายที่เหลืออยู่ในคลังได้ สะดวกในการค้นหาข้อมูลและสามารถออกใบรายงานผลได้
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ชื่องานวิจัย ผู้จัดทำ เทคนิคที่ใช้ ข้อดี ข้อเสีย 1. ระบบจัดการคลังชิ้นส่วนอะไหล่สำหรับบริษัทมินีแบ (ประเทศไทย) จำกัด 1. นางสาวณัฎฐา เปลี่ยนเจริญ 2. นางสาวมธุรดา บุญอิ่ม 3. นางสาวอรวรรณ ศรีพัชรโสภณ ระบบฐานข้อมูลแบบไคลเอนต์ /เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server Database) ระบบสามารถออนไลน์ได้ ผู้ใช้สามารถเข้าใช้งานฐานข้อมูลได้จากทุกที่ หากเกิดข้อผิดพลาดของข้อมูลเจ้าหน้าที่สามารถแก้ไขได้ ซึ่งในความเป็นจริงควรจะเป็นผู้ที่มี Priority สูงกว่าในการแก้ไขข้อมูลที่ผิดพลาด 2. ระบบจัดการคลังสินค้าโดยใช้เทคโนโลยี RFID 1. นายปรีดา อนุสรณ์ธีรกุล 2. นายพจน์ สัจจิพานนท์ ใช้เทคโนโลยี RFID ในการรับและจัดเก็บข้อมูล ลดข้อผิดพลาดในการกรอกข้อมูล ยังไม่เป็นที่นิยมเนื่องจากเทคโนโลยี RFID ใช้ข้อมูลจากแท็กซ์ ซึ่งมีราคาแพง
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง(ต่อ) ชื่องานวิจัย ผู้จัดทำ เทคนิคที่ใช้ ข้อดี ข้อเสีย 3. โปรแกรมฐานข้อมูลสำหรับร้านอะไหล่บนระบบเครือข่าย 1. นายอภิเดชา น่าบัณฑิต 2. นายดนุพล สูรย์ราช ระบบฐานข้อมูลแบบไคลเอนต์/เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server Database) ผู้ใช้สามารถเข้าไปค้นหารายการสินค้าภายในคลังได้ ผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรมนี้ในการเปรียบเทียบราคาสินค้าที่มีเกรดต่างกันในคลังสินค้าเพื่อการตัดสินใจ ไม่มีการจำกัดสิทธิ์ของผู้เข้าใช้งาน