งานธุรการ กองการบริหารงานบุคคล ขอนำเสนอเรื่องราว เกี่ยวกับ การขอตำแหน่ง ผศ. รศ. และ ศ. โดย... นางสาววาสนา อ่ำชื่น
ที่มาของการพัฒนาการขอตำแหน่ง ผศ. รศ. และ ศ. นโยบายของมหาวิทยาลัย หลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ.อ. กำหนด อาจารย์ผู้ขอตำแหน่ง ผศ. รศ. และ ศ. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติต้องการพัฒนางานให้ไปสู่ความสำเร็จ จากประเด็นทั้ง 4 ข้อ เป็นประเด็นที่กดดันให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติจะต้องมีการพัฒนากระบวนการในการดำเนินการเกี่ยวกับการขอตำแหน่ง ผศ. รศ. และ ศ. ให้รวดเร็ว และถูกต้อง
กระบวนการดำเนินงานการขอตำแหน่ง ผศ. รศ. และ ศ. - เอกสารประกอบการสอน - เอกสารคำสอน - เอกสารหรือสื่อการสอน ผู้ขอตำแหน่งทาง วิชาการ - ก.พ.อ.03 - ผลงานทางวิชาการ กองการบริหารงาน บุคคล คณะ/วิทยาลัย - แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อประเมินผลการสอนและเอกสาร ที่ใช้ประเมินผลการสอน - ดำเนินการประเมินผลการสอนและเอกสารที่ใช้ประเมินผล การสอน คณะกรรมการ พิจารณาตำแหน่ง ทางวิชาการ คณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ(ผู้อ่าน) แต่ง ตั้ง กรณีไม่มีการแก้ไข กรณีมีการแก้ไข ดำเนินการแก้ไข ตามเงื่อนไขและ เวลาที่กำหนด สภามหาวิทยาลัย นเรศวร กรณีตำแหน่ง ศ. ให้เสนอให้ ก.พ.อ. ให้ความเห็นชอบเพื่อเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ศึกษาธิการเพื่อเสนอนายกรัฐมนตรีนำความกราบบังคมทูล เพื่อทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง อนุมัติ ไม่ อนุมัติ ผู้ขอสามารถขอทบทวน ผลการพิจารณาได้ 2 ครั้ง ออกคำสั่ง แต่งตั้งให้ดำรง ตำแหน่ง ผศ. หรือ รศ. แจ้งให้ผู้ขอ ทราบ
กระบวนการดำเนินงานการขอตำแหน่ง ผศ. รศ. และ ศ. ธุรการรับเรื่อง ตรวจสอบคุณสมบัติ /เอกสารต่างๆ หากมีปัญหาใดๆ ประสานกลับไปยังคณะหรือ อ.ผู้ขอ จัดประชุมคณะกรรมการบอร์ดใหญ่ เพื่อเลือกผู้อ่าน, ให้ความเห็นชอบผลการประเมินของ คณะกรรมการบอร์ดเล็ก ค้นหาที่อยู่/เบอร์โทร เพื่อทำหน้งสือทาบทาม หากกรรมการตอบรับการทาบทาม ก็จัดทำหนังสือส่งผลงานให้กรรมการพิจารณา และรอผล 60 วัน (ระหว่างนี้จะโทรหากรรมการเป็นระยะๆ) 6. หากผลผ่านเป็นเอกฉันท์ ดำเนินการสรุปผลเพื่อให้คณะกรรมการบอร์ดใหญ่ให้ความเห็นชอบ หากผลไม่เป็นเอกฉันท์ ดำเนินการโทรนัดคณะกรรมการบอร์ดเล็กเพื่อประชุมพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง เมื่อคณะกรรมการบอร์ดใหญ่ ตามข้อ 3 ให้ความเห็นชอบ เจ้าหน้าที่ดำเนินการสรุปผลเข้า สภามหาวิทยาลัยเพื่ออนุมัติ 8. ดำเนินการออกคำสั่ง หรือแจ้งให้ผู้ขอรับทราบผล 9. ส่งเอกสารให้ สกอ.
การตรวจสอบ คุณสมบัติเบื้องต้น เอกสาร ผศ. จะต้องทำงานในตำแหน่ง อาจารย์ วุฒิ ป.ตรี 9 ปี หรือ ป.โท 5 ปี หรือ ป.เอก 2 ปี รศ. จะต้องทำงานในตำแหน่ง ผศ. ไม่น้อยกว่า 3 ปี ศ. จะต้องทำงานในตำแหน่ง รศ. ไม่น้อยกว่า 2 ปี ผศ. เอกสารประกอบการสอน และผลงานทางวิชาการ 1 ประเภท รศ. เอกสารคำสอน งานวิจัย อีก 1 ประเภท ยกเว้น บทความทางวิชาการ ศ. เอกสารหรือสื่อการสอน วิจัย และตำราหรือหนังสือ
การนัดประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อทำหน้าที่ประเมินผลงานทางวิชาการ (กรรมการผู้อ่าน) คณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ ขั้นตอนการดำเนินการ 1. กำหนดการประชุมมีระยะเวลา 2 เดือน/ครั้ง 2. โทรแจ้งคณะกรรมการ พิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ 3. ส่งหนังสือเชิญประชุมและ แฟ้มประชุม 4. ดำเนินการจัดประชุม ขั้นตอนการดำเนินการ 1.โทรสอบถามวันเวลาประธาน สาขาวิชา 2. โทรสอบถามกรรมการผู้อ่าน 3. กำหนดวันเวลาที่ประชุม 4. ส่งหนังสือเชิญประชุม 5. ดำเนินการจัดประชุม
ผลลัพธ์ของการพัฒนางาน 1. มหาวิทยาลัยมีอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่ง ผศ. รศ. และ ศ. เพิ่มมากขึ้น สามารถตอบโจทย์การประกันคุณภาพการศึกษาได้ 2. ระยะเวลาในการดำเนินการลดลง - ปี พ.ศ.2549 – 2552 ใช้ระยะเวลาในการดำเนินงาน โดยเฉลี่ยประมาณ 2 ปี - ปี พ.ศ.2553 – 2556 ใช้ระยะเวลาในการดำเนินงาน โดยเฉลี่ยประมาณ 1 ปี 4 เดือน 3. อาจารย์ผู้ขอตำแหน่งมีความพึงพอใจมากขึ้น 4. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติมีความเชี่ยวชาญในงานที่ปฏิบัติมากขึ้น
ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จของการพัฒนางาน 1. การทำงานเป็นทีมของงานธุรการ และความร่วมมือของบุคลากร งานอื่นๆ 2. นโยบายการเร่งรัดของผู้อำนวยการกองและอธิการบดี ที่มีความชัดเจน 3. ความเมตตาของคณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ 4. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติมีความเชี่ยวชาญในงานที่ปฏิบัติมากขึ้น
ขอบคุณค่ะ