การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่ ยกเลิกโควตา 15% ประเมิน ผลงาน ประจำปี เลื่อนเงินเดือนเป็น % ของ ค่ากลาง ผลงานดีเด่น/ครึ่งปี : ไม่เกิน 6% ของค่ากลาง งบประมาณ/ครึ่งปี : 3% ของเงินเดือนทุกคนในองค์กร ปีละ 2 ครั้ง อย่างน้อย 5 ระดับการเลื่อน (% ของค่ากลาง) ไม่กำหนด Force distribution ส่วนราชการบริหารงบประมาณเอง (3%) ผลงานดีเด่นเลื่อนไม่เกิน 6% ในรอบครึ่งปี ผลงานระดับอื่น ให้หน่วยงานกำหนดเอง ไม่เกินเงินเดือนสูงสุดของช่วงเงินเดือนแต่ละสายงาน เงินเดือนตันให้ได้รับเงินตอบแทนพิเศษ แจ้งผล : เป็นการส่วนตัว ประกาศระดับผลการประเมินและ % การเลื่อนในแต่ละระดับ
สำหรับการเลื่อนเงินเดือนประจำปี 28,550 66,480 61,640 61,650 63,290 บริหาร (S) ค่ากลาง 2 ค่า และ ช่วงเงินเดือน สำหรับการเลื่อนเงินเดือนประจำปี 23,230 64,340 56,520 52,650 56,530 60,430 59,770 อำนวยการ (M) 28,550 66,480 54,100 53,360 54,110 60,290 18,910 50,550 37,970 31,680 37,980 44,260 52,650 45,540 วิชาการ (K) 45,530 23,230 59,770 44,840 44,060 44,850 52,310 45,150 18,910 50,550 35,820 31,220 35,830 43,190 23,230 12,530 36,020 25,180 20,350 25,190 30,600 6,800 22,220 17,670 15,390 17,680 19,950 48,220 59,770 54,000 51,110 54,010 56,890 15,410 47,450 (36,020) 31,430 28,270 31,440 39,440 (33,730) ทั่วไป (O) 10,190 33,540 21,870 16,030 21,880 27,710 4,630 18,190 13,260 10,790 13,270 15,730
แนวทางของสำนักงาน ก.พ. (ต่อ) องค์ประกอบการประเมิน ผลสัมฤทธิ์ของงาน พฤติกรรมการปฏิบัติราชการ (สมรรถนะที่คาดหวัง) เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เป้าหมายอื่นๆ (สอดคล้องกับเป้าหมาย ระดับองค์กร) (สอดคล้องกับงานตามภารกิจ หรืองานที่ได้มอบหมายพิเศษ) ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด- KPI ค่าเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด- KPI ค่าเป้าหมาย ชื่อสมรรถนะ ระดับของสมรรถนะ
หลักการคัดเลือกดัชนีชี้วัดกลางสู่ระดับรายบุคคล (IPAT) Individual Performance Appraisal Template
คัดเลือกตัวชี้วัดร่วมกันระหว่างผู้ประเมิน และผู้รับการประเมิน คัดเลือกตัวชี้วัดร่วมกันระหว่างผู้ประเมิน และผู้รับการประเมิน คำนึงถึงการมอบหมายงาน หรือหน้าที่รับผิดชอบของผู้รับการประเมินตามความเป็นจริง เลือกตัวชี้วัดที่สำคัญ และไม่ควรมีจำนวนมากนัก (3-5-7) เรียงตามลำดับประเภทงานดังนี้ 3.1 งาน S.J. งานกลยุทธ์ 3.2 งาน S.A. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ 3.3 งาน R.J. งานประจำ
4. งานแต่ละประเภทนั้น ถ้ารับผิดชอบหลายตัว ให้จัดลำดับตัวชี้วัดที่เป็นงานนโยบายหรือเป็นปัญหาในพื้นที่หรือของหน่วยงานนั้นๆก่อน ตัวชี้วัดแต่ละตัว ควรมีค่าน้ำหนัก (W) ไม่น้อยกว่า 10% หากตัวชี้วัดใดมีค่าน้ำหนักน้อยกว่า 10% ควรพิจารณาตัดตัวชี้วัดนั้นออก แล้วกระจายค่าน้ำหนักให้กับตัวชี้วัดที่เหลือ
6. การกำหนดค่าน้ำหนัก ให้กับตัวชี้วัด ควรคำนึงถึงมิติด้าน ต่างๆ เช่น 6. การกำหนดค่าน้ำหนัก ให้กับตัวชี้วัด ควรคำนึงถึงมิติด้าน ต่างๆ เช่น มิติด้านปริมาณ: งานที่มีปริมาณมาก ต้องกำหนดค่า น้ำหนักให้สูงกว่า งานที่ปริมาณน้อย มิติด้านคุณภาพ : งานที่มีผลกระทบและความสำเร็จต่องาน ของหน่วยงานหรือองค์กรสูง ต้อง กำหนดค่าน้ำหนักสูงกว่างานที่มีผลกระทบ และความสำเร็จที่น้อยกว่า มิติด้านเวลา :งานที่ต้องใช้เวลามาก ควรกำหนดค่า น้ำหนักสูงกว่างานที่ใช้เวลาทำน้อยกว่า
7. ความเป็นไปได้ในการเก็บข้อมูล หรือข้อจำกัดในการวัด หรือการเก็บข้อมูล 8. ตัวชี้วัดมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา หากมีปัญหาหรือนโยบายพิเศษเร่งด่วน โดยต้องมีการจัดทำข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้ประเมินและผู้รับการประเมิน
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานรายบุคคล (IPAT) ประจำปี 2553 เอกสารแนบท้าย รอบการประเมิน ครั้งที่ 1 ตค.52-มี.ค.53 ครั้งที่ 2 เมย.53-กย.53 ตำแหน่งเลขที่ .................................ชื่อ-นามสกุล ………………………………………ตำแหน่ง/ระดับ ........................................................ ส่วนราชการ(ตาม จ.18)....................................................................................... ...... ส่วนราชการที่ปฏิบัติงานจริง ....................................................................................... ตัวชี้วัดผลงาน หน่วยวัด เกณฑ์การให้คะแนนตามระดับ ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนที่ได้ (ก) น้ำหนัก% (ข) รวมคะแนน (กxข)/จำนวนตัวชี้วัด 1 2 3 4 5 1. 4. 5. 6. 7. รวม 100% ผู้เกี่ยวข้องกับการประเมิน ลงนามก่อนการประเมิน ลงนามรับทราบผลการประเมิน ผู้รับการประเมิน วันที่ ........./......../........ ผู้ประเมินชั้นต้น ผู้ประเมินเหนือชั้นขึ้นไป
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานรายบุคคล (IPAT) ประจำปี 2553 เอกสารแนบท้าย แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานรายบุคคล (IPAT) ประจำปี 2553 รอบการประเมิน ครั้งที่ 1 ตค.52-มี.ค.53 ครั้งที่ 2 เมย.53-กย.53 ตำแหน่งเลขที่ .................................ชื่อ-นามสกุล ………………………………………ตำแหน่ง/ระดับ ........................................................ ส่วนราชการ(ตาม จ.18)....................................................................................... ...... ส่วนราชการที่ปฏิบัติงานจริง ............................................... ตัวชี้วัดผลงาน หน่วยวัด เกณฑ์การให้คะแนนตามระดับ ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนที่ได้ (ก) น้ำหนัก% (ข) รวมคะแนน (กxข)/จำนวนตัวชี้วัด 1 2 3 4 5 1. ร้อยละ 50 ของหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ ครั้งแรกอายุครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ แยกในเขต-นอกเขต คิดเฉพาะในเขต จำนวน/ ร้อยละ 30 40 50 60 70 25% 2.ไม่เกินร้อยละ 7 ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม จำนวน /ร้อยละ 8 7.5 7 6.5 6 3. ร้อยละ 30 ของเด็ก 0-6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว 20 25 35 20% 4.ร้อยละ 90 ของเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 80 85 90 95 100 5. ร้อยละ 90 ของโรงเรียนทุกสังกัดผ่านเกณฑ์การประเมิน 10% รวม 100% ผู้เกี่ยวข้องกับการประเมิน ลงนามก่อนการประเมิน ลงนามรับทราบผลการประเมิน ผู้รับการประเมิน วันที่ ........./......../........ ผู้ประเมินชั้นต้น ผู้ประเมินเหนือชั้นขึ้นไป