แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 7 แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ กับชีวิต
เนื้อหา ระบบปัญญาประดิษฐ์ เทคโนโลยีการสื่อสาร ทุกที่ ทุกเวลา เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา นาโนเทคโนโลยี รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
9.1 ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI: Artificial Intelligence) คือ : การทำให้คอมพิวเตอร์สามารถหาเหตุผลได้ เรียนรู้ และทำงานได้เหมือนสมองคน
AI: Artificial Intelligence
การประยุกต์ใช้งาน AI ภาษาธรรมชาติ โครงข่ายประสาทเทียม ระบบผู้เชี่ยวชาญ ศาสตร์ด้านหุ่นยนต์
9.1.1 ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)
ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) การประมวลผลตัวอักษร คำ ข้อความ ภาพ ความรู้ด้านภาษาศาสตร์
โปรแกรมพจนานุกรม
โปรแกรมแปลภาษา
โปรแกรมโอซีอาร์
การประมวลผลภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์รู้จักคิดและจดจำเสมือนประสาทของมนุษย์ หรือเรียกว่า 9.1.2 โครงข่ายประสาทเทียม คอมพิวเตอร์รู้จักคิดและจดจำเสมือนประสาทของมนุษย์ หรือเรียกว่า “สมองกล”
จำลองการมองเห็นของมนุษย์ โดยการ scan ม่านตา
เกมหมากรุก
9.1.3 ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) - เก็บความรู้ ความชำนาญไว้ได้ตลอด - สามารถขยายความสามารถในการตัดสินใจของ คนได้มากมาย - ลดการพึ่งพาผู้เชี่ยวชาญ - ใช้เป็นเครื่องมือในการฝึกหัด
ตัวอย่างโปรแกรม RTXPS ซึ่งเป็นโปรแกรมระบบผู้เชี่ยวชาญแบบประมวลผลทันทีสำหรับสนับสนุนการตัดสินใจด้านสิ่งแวดล้อมที่ให้บริการบนเว็บ www.ess.co.at/RTXPS/
โปรแกรม RTXPS
การประยุกต์ใช้ด้านการแพทย์
9.1.4 ศาสตร์ด้านหุ่นยนต์
ศาสตร์ด้านหุ่นยนต์ การนำคอมพิวเตอร์มาทำงานร่วมกับเครื่องจักรกลที่สามารถเขียนโปรแกรมคำสั่งให้ทำงานหรือหน้าที่ต่างๆ แทนมนุษย์
หุ่นยนต์สัตว์เลี้ยง Aibo
Qrio
เทคโนโลยีการสื่อสาร ทุกที่ ทุกเวลา 9.2 เทคโนโลยีการสื่อสาร ทุกที่ ทุกเวลา
Ubiquitous technology (ยูบิควิตัส) ผู้ใช้สามารถเข้าถึงคอมพิวเตอร์ได้ทุกหนทุกแห่ง สภาพแวดล้อมที่สามารถใช้คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกับเครือข่าย ไม่ว่าจะอยู่ในที่แห่งใด
เว็บไซต์ของ Bluetooth
เครื่อง Kiosk Terminal เช่น ตู้ E-ASM
เทคโนโลยีสารสนเทศ กับการศึกษา
CAI (Computer Aided Instruction)
E-Learning การนำเอาเทคโนโลยีเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้ามาช่วยในการเรียนการสอน การถ่ายทอดความรู้ การอบรม การทดสอบและประเมินผลผ่านเว็บเพจ
การเรียนรู้ผ่านเว็บ www.thaiwbi.com
บทเรียน “คอมพิวเตอร์เบื้องต้น”
เลือกทำ “Pretest”
เลือกทำ “Posttest”
ลักษณะสำคัญของ e-Learning เรียนได้ทุกคน ทุกที่ ทุกเวลา การใช้สื่อประสม สามารถเลือกเรียนได้ตามต้องการ สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ มีเครื่องวัดผลการเรียน
Virtual Library
ห้องสมุดเสมือน สามารถให้บริการผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้สามารถสืบค้นและเข้าถึงสารสนเทศภายในห้องสมุดได้เสมือนห้องสมุดจริง
ตัวอย่างของ Virtual Library http://www.arc.dusit.ac.th/
สำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต
Databeses
ฐานข้อมูล ABI/Inform
E-book
E-Research
Clipping
Video on Demand
9.4 นาโนเทคโนโลยี
นาโน (nano) แปลว่า 1 ในพันล้านส่วน หรือ 10-9 = 0.000000001 1,000,000,000
นาโนเทคโนโลยี การทำให้โครงสร้างพื้นฐานของโมเลกุลขนาดระดับ 1 ถึง 100 นาโนเมตร กลายเป็นวัสดุหรืออุปกรณ์นาโนที่มีประโยชน์สามารถนำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างของ Nanotechnogy วัสดุฉลาด ตัวรับรู้หรือ Sensors โครงสร้างชีวภาพขนาดนาโน คอมพิวเตอร์แบบควอนตัม คอมพิวเตอร์ดีเอ็นเอ
จอภาพ OLED
Sensors
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government)
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ คือ วิธีการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดยการใช้ IT และเครือข่ายสื่อสารเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินการของรัฐ
เว็บไซต์ของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
กลยุทธ์การพัฒนาโดยใช้ IT มีกี่กลุ่ม ?
กลยุทธ์การพัฒนาโดยใช้ IT มี 5 กลุ่ม ด้านภาครัฐ e-Government ด้านพาณิชย์ e-Commerce ด้านอุตสาหกรรม e-Industry ด้านการศึกษา e-Education ด้านสังคม e-Society
ไทยก๊อฟด็อทเน็ต (เว็บท่าของบริการภาครัฐ)
ตัวอย่างของ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
ระบบตรวจสอบลายพิมพ์นิ้วมืออัตโนมัติ
ระบบสารสนเทศสำหรับงานประปา
การยื่นแบบแสดงและชำระภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต
จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริการสาธารณะ
บริการจดทะเบียนนิติบุคคลทางอินเทอร์เน็ต
e-Citizen : สังคมที่มีรูปแบบการดำเนินชีวิตแนวใหม่
e-Citizen ประกอบด้วย 1. Citizen e-DB ฐานข้อมูลประชาชน 2. Citizen e-ID การพิสูจน์ยืนยันตัวบุคคล 3. Citizen e-Service การบริการประชาชน
เว็บไซต์ของโครงการ e-Citizen
คนไทยด็อทคอม(เว็บไซด์ของโครงการ e-Citizen)
ประโยชน์ของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของหน่วยงานรัฐ เพิ่มคุณภาพในการบริการประชาชนให้สะดวกรวดเร็ว สร้างความโปร่งใสในการดำเนินงานและให้บริการ
ประโยชน์ของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (ต่อ) ลดต้นทุนการดำเนินงานและการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ