การนำเสนอผลการอภิปราย กลุ่มที่ 1
รายชื่อผู้อภิปรายกลุ่มย่อย กลุ่มที่ 1 ลำดับที่ ชื่อ หน่วยงาน 1 ดร.สุรีรัตน์ ลัคนาวิเชียร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2 นายธีระพงษ์ เสาวภาคย์ 3 Mr. Ricky Ward 4 ผศ.ดร.เกรียงศักดิ์ ศรีเงินยวง มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 5 ดร.โกมล แพรกทอง กรมป่าไม้ 6 นายสุดจิตร์ ค้อทอง สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 11 7 นายยงยุทธ สุยานะ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 8 นายสมชัย เบญจชย สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 9 นายเสริมพงศ์ นวลงาม
วัตถุประสงค์ หาตำแหน่ง ปริมาณ ผู้ใช้ประโยชน์ การกระจายของไม้นอกเขตป่า แล้วนำไปวางรูปแบบการจัดการไว้ภายหลัง ลดการใช้เนื้อไม้ หรือ การพึ่งพิงจากป่า เน้นในเรื่องพันธุ์ไม้ การลดความกดดันในป่า เน้นในเรื่องของความหลากหลาย
นิยามของ TROF สำรวจทุกอย่างที่ชาวบ้านใช้ประโยชน์ วิธีการสำรวจแต่ละอย่างแตกต่างกันไป แต่ต้องหาวิธีที่ดีที่สุด คำนึงถึงงบประมาณ การใช้ประโยชน์ของชาวบ้าน
นิยามของ TROF (ต่อ) ชนิดพืชที่สำรวจ มีอะไรบ้าง กำหนดชนิดของพืช ว่านับรวมหรือไม่ อย่างไร เช่น อาจมีการรวม ไม้ผล แต่ไม่รวม annual crops, seasonal crops. ให้กำหนดคำนิยามของ tree ให้ชัดเจนว่ามีอะไรบ้าง หรืออาจจะมีการแบ่งกลุ่ม เช่น ไม้เลื้อย พืชกินได้ เป็นต้น
การกำหนดขอบเขตของ TROF เสนอให้มีการใช้ภาพถ่ายทางอากาศในการจำแนก แล้ววางแปลง (Stratified Random Sampling) เช่น ถนนใช้วิธีการ line plot, สวนป่า ใช้วิธีการ สี่เหลี่ยมหรือวงกลม คำนึงถึงคนที่รับวิธีการไปใช้
การกำหนดขอบเขตของ TROF (ต่อ) พื้นที่ที่อยู่ในกรณีพิเศษ เช่น ในกรณีของชุมชนที่อยู่ในเขตป่าสงวนและกรณีคาบเกี่ยวต่างๆ ต้องมีคำชี้แจง มีความยืดหยุ่น และต้องมีขั้นตอนการสำรวจ คำอธิบายที่ชัดเจน มี Partner ในทุกๆ หน่วยงานที่มี TROF อยู่ เช่น กรมชลประทาน การเผยแพร่ข้อมูล
WORKSHOP WORKSHEET ไม่สามารถจำแนกได้เนื่องจากไม่อาจเป็นตัวแทนของชาวบ้านในพื้นที่ได้ ความสำคัญของไม้แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ แต่ละชนิด วิธีการในการสำรวจต้องร่วมกับชาวบ้านด้วย เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม (Partnership)