กิจกรรม REDD+ ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการตัดไม้ทำลายป่า ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการทำให้ป่าเสื่อมโทรม การจัดการป่าไม้ที่ยั่งยืน การอนุรักษ์คาร์บอนสต๊อค การเพิ่มคาร์บอนสต๊อคในพื้นที่ป่า
ประเด็นหัวข้อในการเสวนา ถ้าประเทศไทยนำกลไกเรดด์พลัสมาใช้ ชุมชนจะมีส่วนร่วมในกลไกนี้อย่างไร 2. ปัญหาและอุปสรรคที่จะทำให้กลไกเรดด์พลัส ไม่ประสบความสำเร็จ
สรุป การอบรมหลักสูตร เตรีมความพร้อมกิจกรรมเรดด์พลัส (REDD+) นางศิรประภา คำใบ นักวิชาการป่าไม้ปฏิบัติการ กลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 (เชียงใหม่)
กลไกลREDD+ คืออะไร คือ หนึ่งในวิธีการลดการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ
กิจกรรม REDD+ ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการตัดไม้ทำลายป่า ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการทำให้ป่าเสื่อมโทรม การจัดการป่าไม้ที่ยั่งยืน การอนุรักษ์คาร์บอนสต๊อค การเพิ่มคาร์บอนสต๊อคในพื้นที่ป่า
ทำไมประเทศไทยต้องเข้าร่วมกลไกREDD+?
จำเป็นหรือไม่ที่ประเทศไทยต้องเข้าร่วมกลไกREDD+? (จิตสำนึก)
รัฐดำเนินกิจกรรมเรดด์พลัสได้เลยหรือไม่ กลไกลREDD+ รัฐดำเนินกิจกรรมเรดด์พลัสได้เลยหรือไม่
เราจำเป็นต้องขายคาร์บอนเครดิตหรือไม่? กลไกลREDD+ ถ้าเราเข้ากลไกนี้ทำตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดจนได้คาร์บอนเครดิต เราจำเป็นต้องขายคาร์บอนเครดิตหรือไม่?
ผลประโยชน์ที่จะได้รับ อาจไม่ใช่ในรูปแบบของเม็ดเงิน เท่านั้น! กลไกลREDD+ ผลประโยชน์ที่จะได้รับ อาจไม่ใช่ในรูปแบบของเม็ดเงิน เท่านั้น!
ผลประโยชน์ที่จะได้รับ ผลประโยชน์ทางตรง - ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าไม้เพิ่มมากขึ้น - ประเทศไทยมีป่าไม้ที่มีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มมากขึ้น - อุณหภูมิของประเทศไทยในภาพรวมลดลง - ในอนาคตเชียงใหม่อาจจะมี อากาศหนาวเย็นตลอดปีเหมือนเดิม
ผลประโยชน์ที่จะได้รับ ผลประโยชน์ทางอ้อม - คาร์บอนเครดิต แหล่งเงินทุน ทั้งในและนอกประเทศเข้ามาสนับสนุนกิจกรรมของชุมชนที่รองรับ ส่งเสริม กิจกรรมREDD+ เป็นต้น
ผลประโยชน์ที่จะได้รับ คาร์บอนเครดิต แหล่งต้นน้ำ กักเก็บน้ำ น้ำไม่ท่วม สภาพอากาศคงที่ ไม่แปรปรวน