 อุตสาหกรรมไฟฟ้า  อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
 อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์  อุตสาหกรรมขนส่ง
Profi le Prod uct Depl oy Outp ut VISION MISSION - สร้างความรู้ - วิจัย - บริการ - สร้างบัณฑิต นโยบาย - บริหาร 13 ข้อ - การเรียนการ สอน 3 ข้อ - พัฒนานักศึกษา.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
ตารางเปรียบเทียบ ปริมาณน้ำฝน - ปริมาณน้ำท่า กลุ่มลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโขง
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
หลักการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
ตำบลนาตงวัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การประเมินผลผลลัพธ์การดำเนินงาน ที่สำคัญ ( พ. ศ. ๒๕๕๓ ) ๑. ความพึงพอใจของประชาชนต่อคุณภาพ การให้บริการของหน่วยงานระดับ Front Office ( ๓. ๑. ๑. ๑ ) ๒. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการ.
 อุตสาหกรรมเกษตร  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
 อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  อุตสาหกรรมเกษตร
 อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้
 อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
ข้อมูลที่น่าสนใจ ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน ที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับผู้มีอิทธิพล
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 4) พ. ศ
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
Flag Ship 101,976,000 บาท 4 โครงการ เทียบเท่า ผลผลิตนอกเหนือจาก ผลผลิต ปวช./ ปวส./ ระยะ สั้น วิจัยองค์ความรู้ / วิจัยเพื่อ ถ่ายทอดเทคโนโลยี  Proj ความร่วมมือเพื่อ.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
เป้าหมายสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ ปี 56 แผนงาน เป้าหมาย
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
ขั้นตอนการจัดนักศึกษาเข้าสังกัดสาขาวิชา
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตุลาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง จากการจัดอาชีวศึกษา  อุตสาหกรรมไฟฟ้า  อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์  อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  อุตสาหกรรมเครื่องจักรกล อุตสาหกรรม เป้าหมาย สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ  ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ  ศูนย์วิทยุชุมชน  อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน  ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน  สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น  Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน  ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน)  ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ  การบริหารจัดการกำลังคน  เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

จังหวัดนนทบุรี สถานศึกษา ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ข้อมูลพื้นฐาน สังกัด สพฐ. 163 แห่ง (สปช.141 แห่ง และสศ. 22 แห่ง) สังกัด เอกชน 101 แห่ง สังกัด กศน. 6 แห่ง สังกัด อุดมศึกษา 1 แห่ง สังกัด สอศ. 1 แห่ง คือ วก.ไทรน้อย ที่ตั้งที่เป็นโอกาส เป็นจังหวัดปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ทิศตะวันออกและทิศใต้ ติดกับกรุงเทพมหานคร ทิศเหนือมีเขตติดต่อกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 82,141 บาท ต่อปี (อันดับ 6 ของภาค อันดับ 22 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากการผลิต อุตสาหกรรม มีมูลค่าการผลิต 34.53% รองลงมา การขายส่ง การขายปลีก 12.42% สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด ทุเรียนสวนนนท์ฯ เครื่องปั้นดินเผา ประชากร จำนวนประชากร 972,280 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ15-19 มีจำนวน 60,530 คน หรือ 9.13% จำนวนผู้ว่างงาน 6,940 คน เป็นชาย 3,318 คน เป็นหญิง 3,622 คน อัตราการว่างงาน 0.6% ประชาชนประกอบอาชีพด้านพนักงานบริการและพนักงานร้านค้าและตลาดสูงที่สุด จำนวน 136,044 คน หรือ19.18% ลำดับรองลงมาผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง 99,869 คน หรือ 14.08% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) ไม้มงคล 2) ตัดเย็บเสื้อผ้า 3) ซ่อมบำรุงเครื่องปรับอากาศ 4) ซ่อมจักรยานยนต์ 5) ซ่อมคอมพิวเตอร์ 6) วุ้นมะพร้าวน้ำหอม 7) น้ำเต้าหู้ ปาท่องโก๋ 8) น้ำยาซักผ้า 9) น้ำยาล้างจาน 10) น้ำยาปรับผ้านุ่ม (ที่มา อศจ. นนทบุรี) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 366,621 คน หรือ 51.7% ลำดับรองลงมา ลูกจ้างรัฐบาล 132,892 คน หรือ 18.74% ทำงานส่วนตัว 123,160 คน หรือ 17.37% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 5,879 คน หรือ 1.13% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 308,472 คน หรือ 59.16% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 40,428 คน หรือ 7.75% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะและผลิตภัณฑ์ มีสถานประกอบการ 355 แห่ง มีการจ้างงาน 72,628 คน รองลงมา อุตสาหกรรมสิ่งทอ และเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 92 แห่ง มีการจ้างงาน 36,113 คน ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

จังหวัดปทุมธานี สถานศึกษา ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ข้อมูลพื้นฐาน สังกัด สพฐ. 200 แห่ง (สปช.176 แห่ง และสศ. 24 แห่ง) สังกัด เอกชน 116 แห่ง สังกัด กศน. 8 แห่ง สังกัด อุดมศึกษา 19 แห่ง สังกัด สอศ. 3 แห่ง 1. วท.ปทุมธานี 2. วท.ธัญบุรี 3. ศูนย์ฝึกอบรมวิศวกรรมเกษตร ที่ตั้งที่เป็นโอกาส เป็นจังหวัดปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ทิศใต้มีเขตติดต่อกับกรุงเทพมหานคร ทิศเหนือและทิศตะวันตกมีเขตติดต่อกับพระ นครศรีอยุธยา สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 223,875 บาท ต่อปี (อันดับ 4 ของภาค อันดับ 8 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้สูงที่สุด คือ การผลิต อุตสาหกรรม มีมูลค่าการผลิต 63.46% พืชเศรษฐกิจสำคัญของจังหวัด ข้าว ประชากร จำนวนประชากร 815,402 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวนสูงที่สุด จำนวน 54,499 คน หรือ 9.72% จำนวนผู้ว่างงาน 11,150 คน เป็นชาย 6,754 คน เป็นหญิง 4,396 คน อัตราการว่างงาน 1.5% ประชาชนประกอบอาชีพด้านผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร และผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบสูงที่สุด 113,625 คน หรือ 25.77% ลำดับรองลงมาคือ พนักงานบริการและพนักงานร้านค้าและตลาด 76,474 คน หรือ 17.34% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) โอ่งผ้าไหม 2) ทำผ้ามัดย้อม ผ้าบาติก 3) ทำขนมไทย 4) ทำเครื่องดื่มจากธัญพืช 5) ทำดอกไม้ประดิษฐ์ 6) ทำน้ำยาล้างจาน 7) ทำพรมเช็ดเท้า 8) ปลูกพืชไร้ดิน 9) พืชสวนครัว 10) การเพาะเห็ด (ที่มา อศจ.ปทุมธานี) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 277,534 คน หรือ 62.94% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว76,937 คน หรือ 17.45% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 2,092 คน หรือ 0.47% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา242,102 คน หรือ 54.91% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 20,281 คน หรือ 4.60% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมไฟฟ้า มีสถานประกอบการ 148 แห่ง มีการจ้างงาน 78,159 คน ลำดับรองลงมาคือ อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์ มีสถานประกอบการ 575แห่ง มีการจ้างงาน 32,192 คน ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 420 แห่ง (สปช.390 แห่ง และสศ.30 แห่ง) สังกัด เอกชน 57 แห่ง สังกัด กศน. 17 แห่ง สังกัด สกอ. 4 แห่ง สังกัด สอศ. 8 แห่ง 1. วท.พระนครศรีอยุธยา 2. วทอ.พระนครศรีอยุธยา 3. วท.อุตสาหกรรมยานยนต์ 4. วอศ.พระนครศรีอยุธยา 5. วษท.ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร 6. วช.พระนครศรีอยุธยา 7. วก.เสนา 8. วก.มหาราช ที่ตั้งที่เป็นโอกาส เป็นเมืองหลวงเก่าแก่ เป็นราชธานีของไทย ทีมีอายุยืนยาวที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติไทย ได้รับจัดตั้งเป็นอุทยานประวัติศาสตร์ไว้ใน บัญชีมรดกโลก เป็นที่ตั้งนิคมอุตสาหกรรม 3 แห่ง 1. นิคมฯบ้านหว้า 2.นิคมฯบางปะอิน 3. นิคมฯสหรัตนนคร สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 392,232 บาท ต่อปี (อันดับ 1 ของภาค อันดับ 3 ประเทศไทย) ผลผลิตที่สร้างรายได้สูงที่สุด คือ การผลิต อุตสาหกรรม มีมูลค่าการผลิต 83.05 % สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด เรือนไทย (ไม้สัก) หัตถกรรมจักสาน งอบ ปลาทะเพียน ประชากร จำนวนประชากร 746,919 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 49,714 คน หรือ 10.12% จำนวนผู้ว่างงาน 8,198 คน เป็นชาย 5,417 คน เป็นหญิง 2,780 คน อัตราการว่างงาน 2.13 % ประชาชนประกอบอาชีพ ผู้ปฏิบัติงานโรงงานและเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติการด้านการประกอบสูงที่สุด จำนวน 97,880 คน หรือ 26.04% ลำดับรองลงมาคือพนักงานบริการและพนักงานร้านค้า และตลาด 61,365 คน หรือ 16.33% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ ยังไม่ได้รับข้อมูลจาก อศจ. ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 208,547คน หรือ 55.49 % ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 84,760 คน หรือ 22.55% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 3,142 คน หรือ 0.84% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 245,879 คน หรือ 65.42% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 20,073 คน หรือ 5.34% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมไฟฟ้า มีสถานประกอบการ 128 แห่ง มีการจ้างงาน 51,410 คน ลำดับรองลงมาคือ อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์ มีสถานประกอบการ รวม 277 แห่ง มีการจ้างงาน 28,732 คน และเครื่องจักรกล มีสถานประกอบการ 135 แห่งมีการจ้างงาน 23,847 คน ตามลำดับ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ

จังหวัดอ่างทอง สถานศึกษา ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ข้อมูลพื้นฐาน สังกัด สพฐ. 172 แห่ง (สปช. 157 แห่ง และ สศ. 15 แห่ง) สังกัด เอกชน 16 แห่ง สังกัด กศน. 7 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 3 แห่ง 1. วท.อ่างทอง 2. วก.วิเศษชัยชาญ 3. วก.โพธิ์ทอง ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ทิศตะวันออกและทิศใต้มีเขตติดต่อกับ พระนครศรีอยุธยา ทรัพยากรดินเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ และมีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การทำการ เกษตร สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 61,063 บาท ต่อปี (อันดับ ที่ 5 ของภาคและอันดับที่ 36 ของประเทศ ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับ จากสาขาการ ขายส่งและการขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 24.25% สาขาการผลิตอุตสาหกรรม 17.35 % ภาคเกษตร 15.66% สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด ผลิตภัณฑ์หัตถกรรม จักสานจากไม้ไผ่ และจาก ผักตบชวา ประชากร จำนวนประชากร 283,778 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 18,781 คน หรือ 10.05% จำนวนผู้ว่างงาน 3,130 คน เป็นชาย 2,138 คน เป็นหญิง 992 คน อัตราการว่างงาน 1.10% ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน 38,085 คน หรือ 24.67% ลำดับรองลงมาคือผู้ปฏิบัติงานโรงงาน และเครื่องจักร29,844 คน หรือ 19.34% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) จักสาน (หวาย ไม้ไผ่) 2) ดอกไม้ประดิษฐ์จากกระดาษสา 3) แปรรูปอาหาร (น้ำพริกเผา ข้าวตัง การทำข้าวกล้อง) 4) อุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผา 5) อุตสาหกรรมในครัวเรือน (เย็บผ้า ทอผ้า) 6) การทำเซรามิค 7) การทำตุ๊กตาจากดินปั้น 8) การหมักปุ๋ยชีวภาพแทนอินทรีย์ 9) การทำสิ่งประดิษฐ์จากของเหลือใช้ 10) การปลูกผักปลอดสารพิษ (ที่มาอศจ.อ่างทอง) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 68,196 คน หรือ 44.2% ลำดับรอง ลงมาทำงานส่วนตัว 41,966 คน หรือ 27.2% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 2,005 คน หรือ 1.3 % โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา 109,695 คน หรือ 71.% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 6,894 คน หรือ 4.5% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมเคมี ปิโตรเคมี และผลิตภัณฑ์ มีสถานประกอบการ 6 แห่ง มีการจ้างงาน 1,027 คน รองลงมาอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 37 แห่ง มีการจ้างงาน 965 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ