งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

 อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: " อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดกระบี่ พังงา และภูเก็ต จากการจัดอาชีวศึกษา
 อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้  อุตสาหกรรมขนส่ง อุตสาหกรรม เป้าหมาย สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ  ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ  ศูนย์วิทยุชุมชน  อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน  ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน  สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น  Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน  ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน)  ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ  การบริหารจัดการกำลังคน  เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

2 จังหวัดกระบี่ สถานศึกษา ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ข้อมูลพื้นฐาน สภาพเศรษฐกิจ
สังกัด สพฐ แห่ง (สปช. 232 แห่ง และ สศ. 18 แห่ง) สังกัด เอกชน แห่ง สังกัด กศน แห่ง สังกัด สกอ แห่ง สังกัด สอศ แห่ง 1. วท.กระบี่ วษท.กระบี่ วช.กระบี่ 4. วก.อ่าวลึก วก.คลองท่อม ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ทิศใต้และตะวันตก เขตเขตติดต่อกับทะเลอันดามัน สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 85,059 บาท ต่อปี (อันดับ 5 ของภาค อันดับ 21 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้สูงที่สุด คือ ภาคเกษตร มีมูลค่าการผลิต % พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัด ยางพารา ปาล์มน้ำมัน ประชากร จำนวนประชากร 395,665 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ มีจำนวน 36,756 คน หรือ 14.31% จำนวนผู้ว่างงาน 3,262 คน เป็นชาย 1,114 คน เป็นหญิง 2,148 คน อัตราการว่างงาน 1.25% ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด 112,210 คน หรือ 52.37% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) ปลูกผักปลอดสารพิษ ระบบ Hydroponics ) การทำไวน์ผลไม้ 3) การจัดดอกไม้ในงานพิธีต่าง ๆ ) การทำขนมอบ ) ทำขนมทองม้วน 6) การทำเพาะเห็ดในถุงพลาสติก 7) การทำพวงหรีดและผลิตของชำร่วยงานศพ 8) น้ำมันว่าน ) เสริมสวย (ที่มา อศจ.กระบี่) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 60,598 คน หรือ 35.41% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 53,716 คน หรือ 31.38% และช่วยธุรกิจครัวเรือน 32,316 คน 18.88% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 5,334 คน หรือ 2.49% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา160,140 คน หรือ 74.74% เป็นที่น่าสังเกตว่าแรงงานอาชีวะมีเพียง 5,936 คน หรือ 2.77% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมขนส่ง มีสถานประกอบการ 174 แห่ง มีการจ้างงาน 2,040 คน รองลงมาอุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ มีสถานประกอบการ 39 แห่ง มีการจ้างงาน 2,036 คนและอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 33 แห่ง มีการจ้างงาน 2,026 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ

3 จังหวัดพังงา สถานศึกษา ข้อมูลพื้นฐาน ที่ตั้งที่เป็นโอกาส สภาพเศรษฐกิจ
สังกัด สพฐ แห่ง (สปช. 167 แห่ง และ สศ. 14 แห่ง) สังกัด เอกชน แห่ง สังกัด กศน แห่ง สังกัด สกอ แห่ง สังกัด สอศ แห่ง 1.วท.พังงา วษท.พังงา วก.ท้ายเหมือง 4. วก.ตะกั่วป่า ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ทิศใต้ มีเขตติดต่อกับจังหวัดภูเก็ต และทะเล อันดามัน ทิศตะวันตก มีเขตติดต่อกับทะเลอันดามัน และ มหาสมุทรอินเดีย สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 95,042 บาท ต่อปี (อันดับ 4 ของภาค อันดับ 18 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้สูงที่สุด คือภาคเกษตร มีมูลการผลิต % อาชีพหลักที่สำคัญของจังหวัด การทำสวนยาง สวนผลไม้ ประชากร จำนวนประชากร 241,442 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ มีจำนวน 18,773 คน หรือ 11.87% จำนวนผู้ว่างงาน 2,640 คน เป็นชาย 874 คน เป็นหญิง 1,797 คน อัตราการว่างงาน 1.1% ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด50,770 คน หรือ 39.98% รองลงมาพนักงานบริการ พนักงานในร้านค้าและตลาด 19,682 คน หรือ 15.50% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) ผลิตและจำหน่ายขนมเต้าส้อมุสลิม ) ผลิตเม็ดมะม่วงหิมพานต์อบกรอบ 3) การทำเครื่องแกง 4) ทำขนมกาละแม 5) ทำผ้าบาติก 6) ปลูกผักไร้ดิน 7) ผลิตใบยางพาราทำดอกไม้ยางพารา ) ผลิตและจำหน่ายขนมกะหรี่ปั๊บ 9) การเพาะเห็ดนางฟ้า 10) การแปรรูปผลิตภัณฑ์จันเทศ (ที่มา อศจ.พังงา) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 45,122 คน หรือ 35.54% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 40,377 คน หรือ 31.80% และช่วยธุรกิจครัวเรือน 20,844 คน หรือ 16.42% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 6,615 คน หรือ 5.21% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 86,364 คน หรือ 68.01% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 6,176 คน หรือ 4.86% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมก่อสร้าง มีสถานประกอบการ 99 แห่ง มีการจ้างงาน 1,062 คน รองลงมา อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 39 แห่ง มีการจ้างงาน 990 คน ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

4 จังหวัดภูเก็ต สถานศึกษา ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ข้อมูลพื้นฐาน สภาพเศรษฐกิจ
สังกัด สพฐ แห่ง (สปช. 57 แห่ง และ สศ. 9 แห่ง) สังกัด เอกชน แห่ง สังกัด กศน แห่ง สังกัด สกอ แห่ง สาธิต 1 แห่ง สังกัด สอศ แห่ง 1. วท.ภูเก็ต วท.ถลาง วอศ.ภูเก็ต 4. วช.ภูเก็ต ที่ตั้งที่เป็นโอกาส มีสภาพภูมิประเทศเป็นเกาะ และเป็นเกาะที่มี ขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ตั้งอยู่ทาง ทิศตะวันตก ของภาคใต้ ในด้านทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน190,365 บาท ต่อปี (อันดับ 1 ของภาค อันดับ 9 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้สูงที่สุด จากโรงแรม และภัตตาคาร มีมูลค่าการผลิต % สินค้าที่มีเชื่อของจังหวัด ไข่มุกแท้ รายได้หลักของจังหวัดมาจากธุรกิจการ ท่องเที่ยว ประชากร จำนวนประชากร 292,245 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ มีจำนวน 19,949 คน หรือ 10.27% จำนวนผู้ว่างงาน 2,259 คน เป็นชาย 1,458 คน เป็นหญิง 802 คน อัตราการว่างงาน 1.55% ประชาชนประกอบอาชีพด้านพนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าสูงที่สุด 52,968 คน หรือ 31.96% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) อาหารไทย – ขนมไทย 2) การตัดผมชาย ) การเกล้าผมแต่งหน้า 4) การทำผ้าบาติก ) โปรแกรมเมอร์ ) การตกแต่งภาพด้วยคอมพิวเตอร์ 7) ช่างซ่อมมอเตอร์ไซต์ ) ช่างวาดภาพคนเหมือน 9) การออกแบบเสื้อผ้าแฟชั่น 10) การออกแบบเว็บไซต์ (ที่มา อศจ.ภูเก็ต) ประชากรอายุ 15ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 82,545 คน หรือ 49.81% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 41,749 คน หรือ 25.19% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 4,281 คน หรือ 2.58% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา79,098 คน หรือ 47.72% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 11,489 คน หรือ 6.93% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะและผลิตภัณฑ์ มีสถานประกอบการ 92 แห่ง มีการจ้างงาน 1,251 คน รองลงมาอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 51 แห่ง มีการจ้างงาน 1,100 คน และอุตสาหกรรมการขนส่ง มีสถานประกอบการ 81 แห่ง มีการจ้างงาน 1,037 คน ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


ดาวน์โหลด ppt  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google